หลักอิทธิบาท 4 : เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้มีความสุข
คำสำคัญ:
อิทธิบาท 4, ประสิทธิภาพ, การปฏิบัติงาน, ความสุขบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้มีความสุขตามหลักอิทธิบาท 4 หรือ “หลักอิทธิบาทธรรม” ซึ่งหลักธรรมดังกล่าว เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อผลสำเร็จในหน้าที่การทำงาน เป็นแนวทางปฏิบัติ 4 ขั้นตอนที่ต่อเนื่องหนุนเสริมกันจะขาดข้อใดข้อหนึ่งไม่ได้ ซึ่งการเชื่อมโยงกันทั้ง 4 ข้อ จะทำให้ประสบผลสำเร็จในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันประกอบด้วย 1) ฉันทะ ความรัก ความพอใจทำงาน ในตำแหน่งที่ทำ 2) วิริยะ ความพากเพียรในงานที่ทำ 3) จิตตะ ความเอาใจใส่ฝักใฝ่ในสิ่งนั้น คือความจดจ่อในงานที่ทำ และ 4) วิมังสา หมั่นสอดส่องในเหตุผลของสิ่งนั้น คือความสอดส่องในงานที่ทำในเหตุและผล โดยบุคคลใดใช้“หลักอิทธิบาทธรรม” เป็นหลักในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความเป็นมืออาชีพ และใส่ใจในการพัฒนาตนเอง มีความรับผิดชอบ และรับรู้ว่ากำลังเกิดอะไรขึ้นในที่ทำงาน ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้มีความสุข ทั้งต่อตนเอง และเพื่อนร่วมงาน ส่งผลให้ องค์กรมีการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
References
กฤษฎ์ อุทัยรัตน์. (2545). คัมภีร์บริหารยอดคน ยอดบริหาร. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2561). ศัพท์รัฐประศาสนศาตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพาวดี เมฆสวรรค์. (2543). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : เพื่อการปฏิรูประบบราชการสำนักงานคณะกรรมการเพื่อการปฏิรูประบบราชการ. กรุงเทพฯ: สำนักงาน ก.พ..
ธนบูรณ์กิตติ์ จิรพัฒนากร. (2552). สมรรถนะการบริหารของผู้บริหารระดับกลางของอุตสาหกรรมการโรงแรมในภาคใต้ของประเทศไทย (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์. (2547). การปฏิรูประบบราชการ. กรุงเทพฯ: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด.
ประเวศน์ มหารัตน์กุล. (2542). การบริหารทรัพยากรมนุษย์แนวทางใหม่. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
ปิ่น มุทุกันต์. (2539). ปฏิบัติตามธรรมะประสบความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: มงคลสาร.
พนม วัจนสุนทร. (2541). วัฒนธรรมค่านิยมในการทำงานเพื่อประชาชน. กรุงเทพฯ: อาทิตย์โปรดักส์กรุ๊ป.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2538). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
_________. (2543). พุทธธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2530). การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน. วารสารข้าราชการ, 28(2), 59-68.
พุทธทาสภิกขุ. (2537). ฆราวาสธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
พูนสุข ภูสุข. (2555). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามหลักอิทธิบาท 4 ของข้าราชการฝ่ายอัยการสำนักงานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 3(2), 41-52.
ยุวดี ศรีธรรมรัฐ. (2541). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : เพื่อการปฏิรูประบบราชการ. กรุงเทพฯ: อาทิตย์ศรีเมืองการพิมพ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่นส์.
สมคิด บางโม. (2561). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด.
สมเพียร เทียนทอง. (2542). องค์กรและการจัดการ. กรุงเทพฯ: อาทิตย์ธรรมสาร.
สมาน รังสิโยกฤษฎ์. (2544). การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์เทียนวัฒนา.
สวัสดิ์ กาญจนสุวรรณ์. (2542). หลักการบริหารการศึกษาโครงการตำราวิชาการสถาบันราชภัฎเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ (รายงานการวิจัย). สงขลา: สถาบันราชภัฎสงขลา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น