การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาจีนโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐานร่วมกับเทคนิค Think Pair Share สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้วรรณกรรมเป็นฐาน, เทคนิค Think Pair Share , ความสามารถในการสื่อสาร ภาษาจีนบทคัดย่อ
บทความการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีนของนักเรียน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผลต่อการเรียนภาษาจีนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยวรรณกรรมเป็นฐานร่วมกับเทคนิค Think Pair Share กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเพชรรัชต์ในพระอุปถัมภ์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 25 คน ได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling ) ใช้วิธีการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาจีน 2) แบบประเมินความสามารถ 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนภาษาจีน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพื้นฐาน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีความสามารถการสื่อสารภาษาจีน สูงกว่าเกณฑ์กำหนดคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ75 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (sig.=.037, t=2.210*) 2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีน คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (sig.= .000, t=15.535*) 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีผลต่อการเรียนภาษาจีนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยวรรณกรรมเป็นฐานร่วมกับเทคนิค Think Pair Share โดยภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด ( =4.60, S.D. = 0.56)
References
กมลรัตน์ หล้าสุวงษ์. (2528). จิตวิทยาการศึกษา (Educational Psychology). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
คุณาพร มีเจริญ. (2563). การพัฒนาความสามารถในการฟัง-พูดภาษาจีน ด้วยการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธัญจิรา สุวรรณสะอาด. (2562). การพัฒนาผลการเรียนรู้ เรื่อง สัทอักษรภาษาจีน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับเทคนิค TGT (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิตยา ประพฤติกิจ. (2556). ผลของการใช้กิจกรรมการเล่นกลางแจ้งที่มีต่อความพร้อมในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ ของเด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 โรงเรียนอันนาลัย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
พัชสุดา กัลยาณวุฒิ. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักศึกษา ระดับปวช.และระดับปวส.ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ และบริหารธุรกิจ (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่: สถาบันวิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ.
วิภาวรรณ สุนทรจามร. (2559). การสังเคราะห์ภาพรวมการวิจัย. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2560, จาก
www.csc.ias.chula.ac.th/wpontent/uploads/Abstract_TH_ChineseLanguage.pdf.
สาธิยา พันเทศ. (2563). การพัฒนาความสามารถในการออกเสียงและการสื่อสารภาษาจีนโดยการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์เป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2551). พัฒนาทักษะการคิดตามแนวปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: เทคนิคพริ้นติ้ง.
อุษา ภิรมย์รักษ์. (2562). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบการสอนแนะให้รู้คิด (CGI) ร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด (Think-Pair-Share) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Ahmadi, F & Panahandeh, E. (2016). The Role of Input-based and Output-based Language Teaching in Learning English Phrasal Verbs by Upper-intermediate Iranian EFL Learners. Journal of Education and Learning, 10(1), 22-33.
Arunsirot, N. (2018). A study of cooperative learning approach in efl classroom.
Journal of education naresuan university, 23(2), 13–28.
Bloom, B. S. (1968). Learning for mastery. Evaluation Comment, 1(2), 1-12.
Bakhsh, S. A. (2016). Using Games as a Tool in Teaching Vocabulary to Young Learners. Canadian Center of Science and Education, 9, 120-128.
Bongsun S. (2017). Effects of Task Repetition and Self-reflection on EFL Learners Attentional and Speaking. English Teaching, 72(4), 81-102.
Brown, H. D. (2007). Principles of language learning and teaching (5th Ed.) New York: Longman.
Enayati, B.2018). The Effects of Lexical Chunks Teaching on EFL Intermediate Learners' Speaking Fluency. International Journal of Instruction, 11(3), 179-192
Hanban. (2019). HSK Introduction. Retrieved 12 December, 2021 from www.hanbanthai.org.
Khusnia, A. N. (2015). Strategies to Enhance Peer Feedback and Self Assessment in Extended Speaking Course. People: International Journal of Social Sciences, 1(1), 1334-1344.
Larsen-Freeman, D. (2015). Research into practice: Grammar learning and teaching. Language Teaching, 48(2), 263-280.
Lewis, M. (1993). The Lexical Approach: The State of ELT and a Way Forward. Hove. UK: Language Teaching Publications.
Linder, C. (1977). Oral communication testing: A handbook for the foreign language teacher. Skokie, IL: National Textbook Compan.
Lyman, F. (1981). The Responsive Classroom Discussion. In A. S. Anderson (Ed.), Mainstreaming Digest (pp. 109-113). College Park, MD: University of Maryland College of Education.
Mehmood, T. (2018). Bridging the Gap: Change in Class Environment to Help Learners Lower Affective Filters. Arab World English Journal, 9(3). 129-144.
Pérez, C. (2016). Effects of Tasks on Spoken Interaction and Motivation in English Language Learners. GIST Education and Learning Research Journal, n13, 34-55.
Puspitasari, E. (2016). Literature-Based Learning to Build Students’ Vocabulary. Journal of Foreign Language Teaching and Learning, 1(2), 49-60.
Raba, A. (2017). The Influence of Think-Pair-Share (TPS) on Improving Students’ Oral Communication Skills in EFL Classrooms. Creative Education, 8(1), 12-23.
Swain, M. (1985). Communicative Competence: Some roles of Comprehensible Input and Comprehensible Output in its Development. In S. Gass & C. Madden (Eds.), Input in second language acquisition (pp. 235–253), Rowley, MA: Newbury House.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น