การประยุกต์หลักพุทธธรรมเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการบริหารงาน ของสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กระทรวงอุตสาหกรรม
คำสำคัญ:
การประยุกต์, หลักพุทธธรรม, สมรรถนะการบริหารบทคัดย่อ
สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ กระทรวงอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาอุตสาหกรรมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ ผู้ให้บริการธุรกิจอุตสาหกรรมให้มีสมรรถนะและขีดความสามารถในการประกอบการที่เป็นเลิศ และมีการพัฒนาคุณภาพงานของกิจการส่งเสริมให้พนักงานแสวงหาวิทยาการใหม่ ๆ และเชื่อถือได้มาช่วยในการติดต่อสื่อสารเพื่อให้เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดส่งผลถึงความยั่งยืนสู่สากลสามารถเติบโตอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนให้การสนับสนุนในการร่วมคิดร่วมวางแผนกับภาครัฐและมีบทบาทในการลงมือปฏิบัติจึงทำเกิดผลสมตามเจตนารมณ์เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้นโดยประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรมพละ 4 ประการหรือกำลังทั้ง 4 ประการนี้เป็นสิ่งที่ทำให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผลทั้งการเสริมสร้างสมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากรสืบไป
References
บุญทัน ดอกไธสง. (2537). การจัดองค์กร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีการบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ. (2565). ความเป็นมาของสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ. สืบค้น 2 มกราคม 2565, จาก https://www.thaitextile.org/
อนุศักดิ์ ฉิ่นไพศาล. (2563). องค์การและการจัดการสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่นบริษัท จำกัด.
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2559). โปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะด้านบริหารจัดการสำหรับผู้นำ. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์ บริษัทจำกัด.
Boyatizis, R.E., (1982). The Competent Manager. New York: McGraw-Hill.
Dales, M and Hes, K., (1995). Creating Training miracles. Sydney: Prentice Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น