การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักไตรสิกขาของการประปานครหลวง

ผู้แต่ง

  • อดิศักดิ์ ปิยะสุวรรณ บริษัท 43 เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

คำสำคัญ:

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, การประปานครหลวง, หลักไตรสิกขา

บทคัดย่อ

ความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญที่สามารถเอื้ออำนวยให้องค์การบรรลุเป้าหมายเพราะว่างานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นงานที่มุ่งเลือกสรรคนดี มีความรู้ ความสามารถ เข้ามาทำงาน โดยมีการดำเนินการฝึกอบรม พัฒนาปรับปรุงให้พนักงานมีความรู้ ความสามารถ ทันสมัยต่อสภาพสังคม เนื่องจากทรัพยากรมนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุดขององค์การหรือที่เรียกว่า “ทุนมนุษย์” และยังเป็นปัจจัยสำคัญที่จะบ่งชี้ถึงความสำเร็จหรือล้มเหลวในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การ สำหรับไตรสิกขาเป็นหลักคำสอนทางพุทธศาสนาที่ทุกคนควรนำมาปฏิบัติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของการประปานครหลวง เพื่อพัฒนาองค์กร และปรับเตรียมสภาพองค์กรให้กับเข้ากับบริบทของสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา

References

การประปานครหลวง. (2564). แผนวิสาหกิจ กปน. ฉบับที่ 5 (ปี 2563–2565). กรุงเทพฯ: การประปานครหลวง.

เฉลิมพงศ์ มีสมนัย. (2551). วิธีการและเทคนิคการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เอกสารการสอนชุดวิชา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เชาว์ โรจนแสง. (2544). แนวคิด การวางแผน และระบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) และคณะ. (2548). พระอุปติสสเถระ. วิมุตติมรรค. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก ป.อ. ปยุตฺโต. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).( 2550,พฤษภาคม). หัวใจพระพุทธศาสนา. พุทธจักร, 61(5), 7

พะยอม วงศ์สารศรี. (2540). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการสถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

พุทธทาสภิกขุ. (2549). การศึกษาสมบูรณ์แบบ : คือวงกลมที่คุ้มครองโลกถึงที่สุด. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วัชรี ทรงประทุม. (2549). มิติใหม่ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อภิชัย พันธเสน. (2544). พุทธเศรษฐศาสตร์ : วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์สาขาต่าง ๆ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์พริ้นติ้ง.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-10

How to Cite