การบริหารทรัพยากรมนุษย์ด้วยสมรรถนะตามหลักพุทธธรรม

ผู้แต่ง

  • สุพล ศิริ นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

สมรรถนะ, พุทธธรรม, การบริหารทรัพยากรมนุษย์

บทคัดย่อ

บทความเพื่อศึกษาความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของสมรรถนะตามหลักพุทธธรรม ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า สมรรถนะเป็นเครื่องมือพื้นฐานมีความสำคัญสำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรให้มีศักยภาพ เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันทางระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ควรปรับกระบวนการปฏิบัติงานของบุคลากรให้สอดคล้องกับสมรรถนะและหลักสัปปุริสธรรม โดยกำหนดเป็นหลักเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ และคุณสมบัติการสรรหา เพื่อจะได้บุคลากรที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ควรมีการพัฒนาบุคลากรในการมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ จริยธรรม และความร่วมแรงร่วมใจโดยยึดหลักพุทธธรรม ซึ่งจะช่วยให้องค์กรได้บุคลากรที่มีความสามารถปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ และสามารถเกิดผลการปฏิบัติงานตรงตามเป้าหมายขององค์กรที่ได้วางไว้

References

ชูชัย สมิทธิไกร. (2556). การสรรหาการคัดเลือกและการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ติน ปรัชญาพฤทธิ์. (2551). การบริหารการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

บุญคง หันจำงสิทธิ์. (2555). เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2535). พัฒนาจริยธรรม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.

พระมหาสมควร สีสงคราม. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสัปปุริสธรรมและพละธรรมกับการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มเขตกรุงธนใต้ สังกัดกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2555). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพื่อการบริหารทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2555). สาระสำคัญในการปรับปรุงพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ: สำนักงานข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.(2555). คู่มือการพัฒนาองค์กรตามกรอบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการมิติภายในด้านการพัฒนาองค์กร. 2555.

อัญชลี ชัยศรี. (2563). การบริหารทรัพยากรมนุษย์บนพื้นฐานสมรรถนะ. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 5(2), 234-248.

Drucker, P. F. (1998). Management: Tasks responsibilities practices. New York: Harper Business.

Frederick, W.T. (1919). Principles of Scientific Management. New York: Harper Business.

Herbert A. S. (1976). Administrative Behavior (3rd ed). New York: The Free Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-10

How to Cite