ภาพลักษณ์องค์การและภาพลักษณ์ของข้าราชการตำรวจไทยในบริบทของประชาชนในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • พงษ์พันธ์ นารีน้อย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ประพันธ์ สหพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • อภิสิทธิ์ คุณวรปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

ภาพลักษณ์องค์การ, ภาพลักษณ์ของข้าราชการตำรวจไทย, แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี

บทคัดย่อ

บทความทางวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสาระสำคัญที่เกี่ยวกับภาพลักษณ์องค์การและภาพลักษณ์ของข้าราชการตำรวจไทยในบริบทของประชาชนในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับความหมาย แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องภาพลักษณ์ องค์ประกอบของภาพลักษณ์ ประเภทของภาพลักษณ์ หลักการบริหารภาพลักษณ์องค์การ กลยุทธ์การสร้างภาพลักษณ์องค์การ การรณรงค์สร้างภาพลักษณ์ ลักษณะและองค์ประกอบของภาพลักษณ์ การสร้างภาพลักษณ์ของตนเอง (Self-Image) และการสังเคราะห์ภาพลักษณ์องค์การ รวมถึงการลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์เชิงลึกประธานชุมชนทั้ง 9 ชุมชน พบว่า ภาพลักษณ์องค์การและภาพลักษณ์ของข้าราชการตำรวจไทยในบริบทของประชาชนในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี ประกอบด้วย การรับฟังความคิดเห็นและให้ความช่วยเหลือชุมชน ยึดประชนชนเป็นหลักและใกล้ชิดกับประชาชน การเป็นที่พึ่งและเป็นมิตรกับประชาชน การประสานงานร่วมกับชุมชน การจัดการผู้กระทำผิดกฎหมายและไม่เคารพสิทธิของผู้อื่น การให้บริการและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เนื่องจากภาพลักษณ์มีความสำคัญเป็นอย่างมาก หากภาพลักษณ์ของข้าราชการตำรวจไทยออกมาในทางที่ดีก็จะได้รับความน่าเชื่อถือ แสดงให้เห็นถึงการประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน หรือหากภาพลักษณ์ออกมาในทางไม่ดี องค์การต้องเร่งสร้างภาพลักษณ์ขึ้นมาให้ดีขึ้น เพราะหากภาพลักษณ์ตกต่ำจะทำให้การดำเนินงานขององค์การล้มเหลวทำให้เกิดการต่อต้านดูหมิ่น ภาพลักษณ์จึงเปรียบเสมือนพื้นฐานความคิดที่บุคคลมีต่อองค์การ

References

กิตาวี ศุภผลศิริ. (2560). ภาพลักษณ์โรงพยาบาลเอกชนชั้นนำและความภักดีของผู้ใช้บริการ (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย.

กีฬา หนูยศ และเกศสุดา โภคานิตย์. (2565). ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิในทัศนะของนักศึกษาและผู้ปกครองนักศึกษา ปีการศึกษา 2554. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 14(2), 268-276.

จุไรรัตน์ จันทสีหราช. (2553). อิทธิพลของภาพลักษณ์บริษัทที่มีต่อความไว้วางใจและความภักดีของลูกค้า ฮอนด้าออโตโมบิล (ประเทศไทย) (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นันท์ธิดา ทองดี (2561) อิทธิพลภาพลักษณ์องค์การ การยอมรับเทคโนโลยี และการรับรู้ความเสี่ยงที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้กระเป๋าเงิน อิเล็กทรอนิกส์ ของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ดรุณี วัชนะ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ คุณภาพบริการ กับความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการธนาคารออมสินในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ). สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

พงษ์พันธ์ นารีน้อย. (2559). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

ประภาส มันตะสูตร และคณะ. (2559). การศึกษาภาพลักษณ์ของข้าราชการตำรวจ ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต, 11(1), 1-12.

มนสิช สิทธิสมบูรณ์ และคณะ (2563). มโนทัศน์การสร้างภาพลักษณ์องค์การ. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์. 15(1), 149-160.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

รักชนก คำมะนาง. (2560). ภาพลักษณ์พยาบาลเชิงวิชาชีพตามการรับรู้ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในภาคตะวันออก (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

เรณู รื่นรมย์. (2564). ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อภาพลักษณ์ขององค์การบริหารสวนตำบลวังหว้า อำเภอแกลง จังหวัดระยอง (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิภารัตน์ ทั่งทอง. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการบริการและภาพลักษณ์ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.

วิมลมาศ ปฐมวณิชกุล. (2559). การพัฒนาคุณลักษณะนักข่าวพลเมืองเยาวชนเพื่อเป็นกลไกการพัฒนาท้องถิ่น. วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(3), 47-54.

สำนักงานเขตธนบุรี. (2564). แผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานเขตธนบุรี.

สถานีตำรวจภูธรดอนสัก จังหวัดสุราษฏร์ธานี. (ม.ป.ป.). องค์ประกอบของการเป็นวิชาชีพตำรวจ. สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2565, จาก http://www.donsak.suratthani.police.go.th/vision.html.

เสรี วงษ์มณฑา. (2552). กลยุทธ์การตลาด: การวางแผนการตลาด. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2560). เทคนิคการสร้างภาพลักษณ์ของตนเอง (Self-Image) ให้ประทับใจ. สืบค้น 13 พฤศจิกายน 2565, จาก https://hrcenter.co.th/

file/columns/hr.

อุษา งามมีศรี. (2552). การศึกษาภาพลักษณ์ของโรงเรียนเอกชน อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี (สารนิพนธ์ กศ.ม. การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อัมพวรรณ โลพิศ. (2562). ทัศนคติของประชาชนต่อภาพลักษณ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลดอนยาง อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Daniel J. Boorstin. (1973). The New Atlantis. American: Man of Books.

Doorley, J., & Garcia, H.F. (2007). Reputation management: The key to successful public relations and corporate communication. New York: Routledge.

Keller, K. L. (2008). Strategic brand management: Building, measuring, and managing brandequity (3rd ed.). Upper Saddle River. NJ: Pearson Prentice Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-10

How to Cite