การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์: แนวคิดและการประยุกต์ หลักพุทธธรรม

ผู้แต่ง

  • วรินทร จินดาวงศ์ นักวิชาการอิสระ
  • วันเพ็ญ วัฒนกูล นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

การพัฒนาศักยภาพมนุษย์, ภาวนา 4

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวคิดและหลักการประยุกต์หลักพุทธธรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักภาวนา 4 ในพระพุทธศาสนาผ่านการสังเคราะห์เอกสาร ตำรา งานวิจัย ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ เป็นผลการพัฒนาตนเพื่อการดำเนินชีวิตในสังคมด้านการศึกษา การพัฒนา และการฝึกอบรมด้วยการบูรณาการองค์ความรู้ทั้งหมดเข้ามามีอิทธิพลในการเรียนรู้เป็นหลักการแห่งการเจริญงอกงามก้าวหน้าให้เป็นมนุษย์ที่ดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยสุจริต มีศีลธรรมและความสุข หลักภาวนา 4 ประการ ประกอบด้วย 1) กายภาวนา การพัฒนากาย 2) สีลภาวนา การอบรมศีล 3) จิตตภาวนา การพัฒนาจิต และ 4) ปัญญาภาวนา การพัฒนาปัญญา

References

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2545). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

นิรมล กิติกุล. (2549). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญทัน ดอกไธสง. (2563). AI FOR EXECUTIVE LEADER สำหรับนักบริหารมืออาชีพ. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคระกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580. (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอน 82 ก. หน้า 8.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2544). หลักแม่บทของการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม พ.ศ. 2566 – 2570. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-10

How to Cite