ความเป็นประชาธิปไตยกับความเหลื่อมล้ำในสังคม
คำสำคัญ:
ประชาธิปไตย, ความเหลื่อมล้ำ, สังคมไทยบทคัดย่อ
ความเป็นประชาธิปไตยกับความเหลื่อมล้ำในสังคมมีให้เห็นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและดูเหมือนจะมีความห่างระหว่างความเหลื่อมล้ำมากยิ่งขึ้น ซึ่งไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าเป็นผลมาจากนโยบายหรือการบริหารประเทศที่มีผิดพลาด ซึ่งทำให้เกิดความไม่เสมอภาคทั้งในเรื่องของความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ สังคมและอำนาจ และรวมถึงสถานะความเป็นประชาชนที่จะต้องมีความเสมอภาคตามระบอบประชาธิปไตยอีกด้วย ความเหลื่อมล้ำดังกล่าวมีผลกระทบในสังคมตั้งแต่ระดับครอบครัวไปถึงระดับประเทศชาติ กล่าวคือ ระดับครอบครัวซึ่งถือว่าเป็นสังคมขนาดเล็กที่ได้รับผลกระทบเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำในมิติต่าง ๆ ย่อมจะทำให้ความเป็นอยู่ไม่เป็นไปตามวิสัยของประชาธิปไตย และถ้าความเหลื่อมล้ำในสถาบันครอบครัวมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ย่อมจะส่งผลต่อสังคมประเทศชาติอย่างแน่นอน ดังนั้น การลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมที่ดีที่สุดคือ ผู้บริหารทุกระดับชั้นต้องบริหารภายใต้กรอบของความเป็นประชาธิปไตยแบบไร้เงื่อนไข จึงจะทำให้ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยลดน้อยและหายไปในที่สุด
References
กิตติศักดิ์ สินธุวนิช. (2565). บทบาทของชุมชนในการสร้างความสมานฉันท์ภายใต้ความเหลื่อมล้ำและบริบท ที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิชัยพัฒนา.
โครงการเศรษฐสาร. (2565). สำรวจสภาพความเหลื่อมล้ำไทย: ดัชนีและความท้าทายของข้อมูลความเหลือมล้ำ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์.
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (2565). โครงการวิจัยชุมชนเพื่อพัฒนาและแก้ไขความเหลื่อมล้ำทางสังคมในกรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สมชัย จิตสุชน และ วิโรจน์ ณ ระนอง. (2563). ทัศนะประชาชนต่อการเมืองและสวัสดิการสังคมเพื่อสร้างความ เป็นธรรมทางสังคม (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).
สมชัย จิตสุชน. (2563). มาตรการการคลังเพื่อความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม: การขยายฐานภาษี การปฏิรูปเศรษฐกิจเพื่อลดความขัดแย้งทางการเมือง. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สัญญา เคณาภูมิ. (2559). การตัดสินใจทางการเมืองแบบวิถีประชาธิปไตย: แนวคิดและรูปแบบลักษณะ (Political Decision on the Democratic Way of Life: Concept and Forms). มนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 33(2), 89-120.
สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP). (2562). ความมั่นคงของมนุษย์ในปัจจุบันและอนาคต (รายงานงานวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP).
สุรชัย ศิริไกร. (2564). การพัฒนาประชาธิปไตยโดยปราศจากการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและจริยธรรมทางการเมือง. ในการประชุมวิชาการเรื่องวัฒนธรรมทางการเมือง จริยธรรม และการปกครอง ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ: ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ.
อภิชาติ สถิตนิรามัย และคณะ. (2563). การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคมของชนชั้นใหม่. กรุงเทพฯ: สถาบันอุดมศึกษาไทยเพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี นสธ.
Baran, P. (1997). The Political Economy of Growth. New York: Monthly Review Press.
Boix, C. (2003). Democracy and Redistribution. New York: Cambridge University Press.
Chothipaporn, W. (2019). The relationship between financial development with economic growth and the impact of financial inequality countries. Thailand (master’s degree). Bangkok: Thammasat University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น