การยอมรับเสียงข้างมากเคารพเสียงส่วนน้อย
คำสำคัญ:
การยอมรับ, เสียงข้างมาก, เสียงส่วนน้อยบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลักการพื้นฐานของหลักประชาธิปไตย คือ หลักการถือเสียงข้างมากควบคู่ไปกับการเคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย ทั้งนี้การเคารพต่อสิทธิของเสียงข้างน้อยโดยที่ไม่ขัดต่อหลักการถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ ที่จะต้องกระทําโดยให้เป็นไปตามหลักฉันทามติซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมกันที่มีลักษณะเป็นการยอมรับแบบเอกฉันท์ของประชาชน เสียงของประชาชนเป็นเสียงที่สุจริตเป็นเสียงที่มอบให้ตัวแทนนำไปทำหน้าที่แทนเป็นตัวแทนที่ยึดหลักสุจริตและซื่อตรงต่อประชาชน มีหิริ และโอตัปปะต่อทุกเสียงที่มอบความไว้วางใจ ประชาธิปไตยจะแข็งแรง
References
กาญจนา ดำจุติ. (2557). การส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามหลักพุทธธรรมของผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2519). ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). รัฐธรรมนูญปัจจุบันกับการปฏิรูปการเมือง. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
ไพศาล ภู่ไพบูลย์ และคณะ. (2522). หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม.1. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
วิสุทธิ์ โพธิแท่น (2550). แนวคิดพื้นฐานของประชิปไตย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
McGann & Anthony. (2006). The Logic of Democracy: Reconciling Equality. Deliberation, and Minority Protection. Michigan: The University of Michigan Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น