การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาตามแนวหลักศีล 5

ผู้แต่ง

  • วรินทร จินดาวงศ์ นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

พัฒนาการทางจริยธรรม, จิตศึกษา, ศีล 5

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม แนวคิดจิตตปัญญาศึกษา และการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาตามแนวหลักศีล 5 ผ่านการสังเคราะห์เอกสาร ตำรา งานวิจัย

ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาเล่าเรียน การสอบถามผู้รู้ เพื่อให้รู้ผิดชอบชั่วดี มีความรู้ในการดำเนินชีวิตตามคลองธรรม โดยทางธรรม ผ่านกิจกรรมจิตศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนทัศน์เพื่อกิจกรรมการเรียนรู้ ฝึกฝน บ่มเพาะปัญญาภายในของนักเรียนและนักศึกษา สู่การประพฤติปฏิบัติตนในการดำเนินชีวิตตามหลักศีล 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) ความมีเมตตากรุณา 2) การประกอบอาชีพสุจริต 3) การสำรวจในกาม 4) การมีความจริงใจ และ 5) การมีสติสัมปชัญญะ ที่ส่งผลต่อความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจารีตได้อย่างเหมาะสมต่อไป

References

กีรติ บุญเจือ. (2538). จริยศาสตร์สำหรับผู้เริ่มเรียน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

______. (2551). คู่มือจริยศาสตร์ตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม.

จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร. (2553). จิตตปัญญาศึกษา: การเรียนรู้สู่จิตสำ นึกใหม่. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2539). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นีออน พิณประดิษฐ์. (2555). จริยธรรม: ทฤษฎีและรูปแบบการพัฒนา. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

บุญมี แท่นแก้ว. (2541). จริยธรรมกับชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โอเอส พริ้นติ้งเฮาส์.

ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561- 2580). (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอนที่ 82 ก. หน้า 1

ประเวศ วะสี. (2551). หนังสือรวบรวมบทความการประชุมวิชาการประจำ ปี 2551 เรื่องจิตตปัญญาศึกษา การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์. กรุงเทพฯ: โครงการศูนย์จิตตปัญญาศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). พระพุทธศาสนากับการพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพฯ: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

พระเมธีวราภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2534). ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรม จริยศาสตร์และจริยศึกษา ความรู้คู่คุณธรรม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์.

วศิน อินทรสระ. (2541). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: ทองกวาว.

วิจักขณ์ พานิช. (2551). เรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ: การศึกษาดังเส้นทางแสวงหาจิตวิญญาณ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.

วิเชียร ไชยบัง. (2554). จิตศึกษากับการบ่มเพาะปัญญาภายใน. บุรีรัมย์: สำนักพิมพ์โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม พ.ศ. 2566 – 2570. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2542). จริยธรรมทางวิชาการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2551). ชุดโครงการเพิ่มขีดความสามารถของคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์สู่การเป็นสถาบันพัฒนาบุคลาการทางการศึกษาที่มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (อัดสำเนา).

Victor, G.C. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill.

Kabat Z.J. (1994). Catalyzing movement towards a more contemplative/ sacredappreciating/non-dualistic society. The contemplative mind in society meeting group. New York: Pocantico.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-10-06

How to Cite