เวสารัชชกรณธรรม 5 กับภาวะผู้นำในสถานการณ์ฉุกเฉิน
คำสำคัญ:
เวสารัชชกรณธรรม 5, ภาวะผู้นำ, สถานการณ์ฉุกเฉินบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเวสารัชชกรณธรรม 5 กับผู้นำในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยบทความฉบับนี้จะกล่าวถึง แนวคิดเกี่ยวกับเวสารัชชกรณธรรม 5 ภาวะผู้นำในสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อให้ได้ผู้นำที่สามารถแก้ไขปัญหาได้ในทุกสถานการณ์โดยการนำเวสารัชชกรณธรรม 5 มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งและความมั่นใจ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์อย่างรวดเร็ว มีการสื่อสารอย่างชัดเจน มีธรรมาภิบาล และเป็นแบบอย่างที่ดีในความรับผิดชอบ
References
กวี วงศ์พุฒ. (2539). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาชีพบัญชี.
คุณวุฒิ คนฉลาด. (2550). ภาวะผู้นำ. ชลบุรี: ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
บุญทัน ดอกไธสง. (2535). การจัดการองค์การ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: การศาสนา.
มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา. (2555). ศีล. สืบค้น 1 พฤษภาคม 2566, จากhttps://www.dhammahome.com/webboard/topic21683.html.
House, E.R. (1978). The Logic of Evaluation Argument. Los Angeles: UCLA Center for study of evaluation.
McFarland. (1979). Management: Foundation & Practices (5th ed). New York: Macmillan Publishing Inc.
Yukl, G. A. (1989). Leadership in organizations. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice-Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น