การบริหารจัดการทุนมนุษย์ในยุคปัญญาประดิษฐ์
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการ, ทุนมนุษย์, ปัญญาประดิษฐ์บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งเน้นการบริหารจัดการทุนมนุษย์โดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในกระบวนการต่าง ๆ ในการบริหารจัดการองค์กร โดยผ่านกระบวนการฝึกอบรม การพัฒนาทีมงาน การพัฒนาทักษะ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร แนวทางการบริหารจัดการทุนมนุษย์ในยุคปัญญาประดิษฐ์ มีดังนี้ ส่งเสริมการพัฒนาทักษะและความรู้แก่บุคลากร ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามามีบทบาทในทุกภาคส่วน สร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ (AI) สามารถช่วยบุคลากรในการเรียนรู้และพัฒนาทักษะและความรู้ใหม่ๆ ได้ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรและองค์กร และ ส่งเสริมความโปร่งใส องค์กรควรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ให้กับบุคลากร เพิ่มศักยภาพขององค์กรให้ก้าวสู่ระดับสากล
References
ธงชัย สันติวงษ์ และสมชาย หิรัญกิจ.(2548). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
บุญทัน ดอกไธสง. (2551). การจัดการทุนมนุษย์. กรุงเทพฯ: พิมพ์ตะวัน.
พยอม วงศ์สารศรี. (2552). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาราชภัฏสวนดุสิต.
เพ็ญศรี วายวานนท์. (2537). การจัดการทรัพยากรคน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580. (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอนที่ 82 ก. หน้า 8.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2566). การจัดคนในองค์การอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ. สืบค้น 20 กรกฎาคม 2566, จาก //www.stou.ac.th/study/sumrit/10-50/page1-10-50.html
วิโรจน์ ลักขณาอดิศร. (2566). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ตามยุทธศาสตร์องค์การ. สืบค้น 20 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.pantown.com/board.php?id=15535&area= 1&name= board4&topic=13&action=view
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเลคทรอนิคส์. (2566). ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการของภาครัฐ. สืบค้น 22 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Articles/AI-in-Government-Services.aspx
Clark, R. B. (1992). Marine Pollution. (3rd ed.). Oxford: Clarendon,
Cornelius, N. (2001). Human Resource Management. London: Thomas Learning.
Gary, B. (1930). Capital Human. The Quarterly Journal of Economics. Chicago: University of Chicago.
Griffin, A. (1997). PDMA Research on New Product Development Practices: Updating Trends and Benchmarking Best Practices. Journal of Product Innovation Management, 14(6), 429–58.
Kossen, S. (2002). The Human Side of Organization. (8th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.
Mondy, R. W. & Noe, R. M. (1996). Human Resources Management. New York: Prentice-Hall.
SAS. (2023). Artificial intelligence: What is it, and why is it important? Retrieved July 20, 2023, from สืบค้น 20 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.sas.com/th_th/insights/analytics/what-is-artificial-intelligence.html
Wayne F. (2003). Managing Human Resource: Productivity Quality of Work Life, Profits. New York: McGraw–Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น