รัฐประศาสนศาสตร์ในวรรณกรรมมังรายศาสตร์

ผู้แต่ง

  • รวิภาส พิตรพิบูลย์พงศ์ นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

รัฐประศาสนศาสตร์, วรรณกรรม, มังรายศาสตร์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ เป็นการศึกษาวรรณกรรมมังรายศาสตร์ ที่พญามังรายบัญญัติไว้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบบทบัญญัติของวรรณกรรมมังรายศาสตร์กับแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบัน พบว่า วรรณกรรมมังรายศาสตร์ส่วนใหญ่กล่าวถึงหลักการทางนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ ประกอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและการวินิจฉัยคดีความต่าง ๆ ส่วนหลักการทางรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีน้อย พบเพียงหลักการบริหารอันประกอบไปด้วย การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การจัดองค์การและการจัดงานสาธารณะ สะท้อนให้เห็นว่า การบริหารงานราชการแผ่นดินในปัจจุบัน มีกระบวนการและหลักการที่ถูกพัฒนามาจากอดีตอย่างยาวนาน

References

ทองย้อย แสงสินชัย. (2566) บาลีวันละคำ: วณฺณกมฺม. สืบค้น 1 สิงหาคม 2566, จากhttps://dhamtara.com/?p=9516.

ประเสริฐ ณ นคร (ผู้ปริวรรต). (2528). มังรายศาสตร์ : ฉบับเชียงหมั้น : ต้นฉบับวัดเชียงหมั้น อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ วิทยาลัยครูเชียงใหม่.

ประเสริฐ ณ นคร. (2549). ประวัติศาสตร์เบ็ดเตล็ด. กรุงเทพฯ: มติชน.

พระอัคควังสะเถระ. (2546). สัททนีติ ธาตุมาลา. พระมหานิมิต ธมฺมสาโร และจำรุญ ธรรมดา แปล พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม) ตรวจชำระ, วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไทยรายวันการพิมพ์.

พิธินัย ไชยแสงสุขกุล. (2528). กฎหมายครอบครัว : เปรียบเทียบกฎหมายมังรายศาสตร์กับกฎหมายตรา 3 ดวง. กรุงเทพฯ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2566). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. สืบค้น 1 สิงหาคม 2566, จาก https://dictionary.orst.go.th/.

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2549). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2549). รัฐประศาสนศาสตร์: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ธรรกมลการพิมพ์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-01

How to Cite