การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรุงเทพมหานครสามัญ

ผู้แต่ง

  • วันเพ็ญ วัฒนกูล สำนักงานเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร

คำสำคัญ:

การพัฒนา, สมรรถนะ, บุคลากร

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรุงเทพมหานครสามัญผลการศึกษาพบว่า การจัดทำสมรรถนะของบุคลากรกรุงเทพมหานคร มีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนให้ข้าราชการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับหน้าที่ และส่งเสริมให้ปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้นการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ กรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 ได้วางรากฐานภายใต้หลักการและแนวคิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 3 ประการ ได้แก่ หลักการพัฒนาสมรรถนะ หลักการบริหารผลงาน และหลักการพิทักษ์ระบบคุณธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครปฏิบัติราชการอย่างมีคุณภาพ มีคุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี แนวคิดสมรรถนะ เป็นแนวคิดด้านพฤติกรรมศาสตร์ที่ถูกนำมาใช้กับการบริหาร ทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครในหลายด้าน เช่น การนำสมรรถนะมาใช้กับการสรรหาบุคลากรของ กรุงเทพมหานคร นำสมรรถนะมาใช้กับการประเมินผลการปฏิบัติราชการในส่วนของพฤติกรรมการปฏิบัติงาน  เป็นต้น

References

กุลธน ธนาพงศธร. (2544). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เกรียงไกร เจียมบุญศรี และจักร อินทจักร. (2544). คู่มือการบริหารทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพฯ: บุ๊คแบงก์.

ตุลา มหาพสุธานนท์. (2545). หลักการจัดการ หลักการบริหาร. กรุงเทพฯ: อินโนกราฟฟิกส์.

พิมพิมล พลเวียง. (2549). ทิศทางและรูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เทพเพ็ญวานิสย์.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2544). ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำกัด (มหาชน).

วิวัฒน์ บุณยภักดิ์. (2542). สรุปปัญหาและการป้องกันแก้ไขผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: จุลสารการท่องเที่ยว.

สาโรช บัวศรี. (2549). จริยธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักงาน ก.ก.. (2554). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ กรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554. สืบค้น 2 สิงหาคม 2566, จาก http://203.155.220.238/csc/index.php/hr-rule/26-act-rule-practices/act/231-2012-10-09-04-08-54

สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2548). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency Based Learning (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พรินท์ จำกัด (มหาชน).

Kossek, E.E. & Block, R.N. (2002). Managing Human Resource in the 21st Century: From Core Concepts to Strategic Choice. Cincinnati OH: South-Western College.

Maslow, A. (1987). Motivation and Personality. New York: Harper and Row Publishers.

Mondy, R.W. & Mondy J.B. (2008). Human Resource Management (9th ed.). Upper Saddle River NJ: Pearson Education.

Procter, C., (1991). A first course in factor analysis (2nd ed.). Hillsdale: Lawrence Erlbaum Associates.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-02

How to Cite