พุทธนวัตกรรมกับการพัฒนาทุนมนุษย์

ผู้แต่ง

  • ธนัท ติระพรชัย นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

พุทธนวัตกรรม, การพัฒนาทุนมนุษย์, หลักไตรสิกขา

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพุทธนวัตกรรมกับการพัฒนาทุนมนุษย์ ซึ่งนวัตกรรมคือการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่การสร้างคุณค่าและมูลค่า เพิ่มความสร้างสรรค์ต่อยอดไม่รู้จบเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคมจากทั้ง 4 องค์ประกอบ คือ ศาสนบุคคล ศาสนธรรม ศาสนวัตถุ และศาสนพิธี โดยเฉพาะจากศาสนบุคคลหรือทุนมนุษย์ โดยหลักพุทธนวัตกรรมสำหรับการพัฒนาทุนมนุษย์นั้นมีเป็นจำนวนมาก และสรุปลงในหลักธรรมหมวด 3 คือ หลักไตรสิกขา อันประกอบด้วย ศีลสิกขา จิตสิกขา ปัญญาสิกขา ซึ่งถือเป็นหลักสำคัญในการพัฒนาทุนมนุษย์ โดยถือเป็นการเรียนรู้เพื่อเป็นมนุษย์ที่เต็มบริบูรณ์ เพราะได้รับการพัฒนาทั้งทางกายและทางจิตใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีจิตใจที่เปี่ยมด้วยปัญญา สามารถเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถเพื่อการทุ่มเทการทำงานให้กับองค์การและสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นบุคคลที่มีความพร้อม มีความจริงใจและทำงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรหรือเป็นบุคคลในองค์กรที่สามารถสร้างคุณค่าของระบบการบริหารงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการได้

References

กรมวิชาการ. (2549). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์.

คะนึงนิจ อนุโรจน์. (2566). ทุนมนุษย์คืออะไร. สืบค้น 29 กรกฎาคม 2566, จาก https://www. gotoknow.org/posts/339329.

จินต์ภาณี สุขวัฒโน. (2566). ประเทศไทยกับอนาคตที่จับต้องได้ ของระบบนิเวศน์นวัตกรรมทางสังคมในยุค Covid-19. สืบค้น 29 กรกฎาคม 2566, จาก https://research.eef.or.th/thailand-and-the-tangible-future/.

ดนัย เทียนพุฒ. (2553). ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ. กรุงเทพฯ: โครงการฮิวแมนแคปปิตอล.

นิสดารก์ เวชยานนท์. (2551). มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์. กรุงเทพฯ: บริษัท กราฟิโก ซิสเต็มส์ จำกัด.

พยอม วงศ์สารศรี. (2531). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

พระเทพวัชรบัณฑิต (สมจินต์ สมุมาปญโญ). (2566). มจร ชู “พุทธนวัตกรรม” เพื่อการเรียนรู้และพัฒนายั่งยืน. สืบค้น 29 กรกฎาคม 2566, จาก https://d.daily

news.co.th/education/828960/.

พระสมุห์สายยันต วิสารโท (โลหิตดี) และพระมหามิตร ฐิตปฺโญ (วันยาว). (2564). พุทธนวัตกรรมในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษาพุทธศิลปดานเสนาสนะ. วารสารปญญาปณิธาน, 6(2), 15-28.

พระราชปริยัติกวี. (2566). ประชุมวิชาการระดับชาติ ชูพุทธนวัตกรรมของมหาจุฬาฯ แก้ปัญหาสังคม. สืบค้น 29 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.ban

muang.co.th/news/education /124551.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มัลลี เวชชาชีวะ. (2524). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัย สถาบันพัฒนาบัณฑิตบริหารศาสตร์.

วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2546). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: วี เจพริ้นติ้ง.

สุชาติ กิจธนะเสรี. (2548). องค์การและนวัตกรรมในองค์การ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สมชาย หิรัญกิตติ. (2542). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: บริษัท ธีระฟิล์ม และ โซเท็กซ์ จำกัด.

Burud, S. &. Timobo, (2004). Inveraging the New Human Capital. CA: Consulting Psychologists Press.

Morton, J.A. (1971). Organizing for innovation; A systems approach to technical management. New York: McGraw-Hill.

Roger, E. M., & Shoemaker, F. F. 1971. Communication of Innovation (2nd ed). New York: The Free Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-02

How to Cite