หลักพุทธธรรม : การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
คำสำคัญ:
หลักพุทธธรรม, การบริหารจัดการ, ทรัพยากรมนุษย์บทคัดย่อ
หลักพุทธธรรมมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน สังคหวัตถุธรรม หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของผู้อื่น ผูกไมตรี เอื้อเฟื้อ เกื้อกูล หรือเป็นหลักการสงเคราะห์ซึ่งกันและกัน ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และสมานัตตตา หลักอคติธรรม ความลำเอียงเป็นสิ่งที่ต้องพึงละเว้นเมื่อต้องการครองใจ และบริหารคนในองค์กร และหลักพรหมวิหารธรรม เป็นคุณธรรมพื้นฐานที่ผู้นำจะต้องมีอยู่ประจำในจิตใจเพื่อนำไปสู่การแสดงออกที่ดีและเหมาะสม ได้แก่ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา เพื่อนำไปสู่การแสดงออกที่ดีและเหมาะสม สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการบริหารองค์กรจะช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จบรรลุตามเป้าหมาย ตัวมนุษย์ คือ ทุน โดยมีเป้าหมายขององค์กร 4 ประการ การสรรหา การพัฒนา การรักษาพนักงาน และการใช้ประโยชน์ กระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ทำให้เกิดประสิทธิภาพทางการบริหาร ทำให้เกิดประโยชน์ในด้านเวลา เป็นวิธีทางการปฏิบัติงานอย่างหนึ่ง ช่วยลดต้นทุนในการดำเนินงาน และ และทำให้เกิดคุณค่าทางสังคม การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารงบประมาณ การบริหารวัสดุอุปกรณ์ และการบริหารงาน หรือกล่าวโดยรวมว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารคนและงาน เพื่อนำองค์กรบรรลุเป้าหมายตามที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
References
กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. (2557). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ส.เอเชียเพรส.
ชัยวัฒน์ ผ่องจิต. (2548) ความต้องการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ ระบบการบริหารคุณภาพISO 9001 : 2000 กรณีศึกษาบริษัทสตีลเวอร์คโปรดักส์ 1994 (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บุญทัน ดอกไธสง. (2551). การจัดการทุนมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พิมพ์ตะวัน.
ประวัติ พื้นผาสุก. (2549). คุณธรรมสำหรับผู้บริหาร. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีการบริการ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2549). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
______. (2550). การพัฒนาที่ยั่งยืน (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: บริษัทสหธรรมิก จำกัด.
พระมหาจรูญ อภิธมฺมจิตฺโต และคณะ. (2562). นวัตกรรมทางการปกครองและการบริหารในยุคไทยแลนด์ 4.0. (การประชุมวิชาการระดับชาติ มจร. ครั้งที่ 3)พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาบุญเพียร ปุญฺญวิริโย. (2539). แนวคิดและวิธีการขัดเกลาทางสังคมในสถาบันครอบครัวตามแนวพระพุทธศาสนา (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พิมลพรรณ เชื้อบางแก้ว. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). ปทุมธานี:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ไพโรจน์ ศุภทีปมงคล. (2557). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนาสู่ระบบการบริหารคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001: 2008. วารสารศิลปะศาสตร์ปริทัศน์, 9(18), 74-87.
วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2554). ความรู้พื้นฐานในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร.
สกล บุญสิน. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. จังหวัดเชียงใหม่: ศูนย์บริหารงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมบัติ กุสุมาวลี. (2559). HR 4.0 TRENDS and MOVE ทิศทางการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ @Thailand 4.0. สืบค้น 2 มกราคม 2564 จาก https://jobdst.com/ index.php? option=com_ content&view=article&id=456&Itemid=136
สุภาคย์อินทองคง. (2550). การใช้หลักพุทธธรรมนำการวิจัยและพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สุขภาพองค์รวม. สงขลา: ศูนย์เรียนรู้ชุมชนภาคใต้(ศรช.).
สุวรรณ์ แก้วนะ. (2564). การนำหลักพุทธธรรมมาใช้ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(1), 290-299.
สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2549). การบริหารทรัพยากรมนุษย์: หลักการและแนวคิด.กรุงเทพฯ: เวิลด์เทรดประเทศไทย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น