ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกกับความเจริญก้าวหน้าในอาชีพของบุคลากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ผู้แต่ง

  • กฤษณ์ วิทวัสสำราญกุล มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • ญาฎา บุรพรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • ธิติพร มิลินทร์ คริสเตนเซน มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • เนตร์ศิริ เรืองอริยภักดิ์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

คำสำคัญ:

ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก, บุคลากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ, ความเจริญก้าวหน้าในอาชีพ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับปัจจัยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก
2. เพื่อศึกษาระดับปัจจัยความเจริญก้าวหน้าในอาชีพ และ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกกับความก้าวหน้าในอาชีพของบุคลากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีเครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประชากรคือบุคลากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 3,847 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน  

ผลการวิจัยพบว่า 1. ข้อมูลส่วนบุคคลพบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง วัย Gen Z อายุ 18 - 24 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีเงินเดือนอยู่ในช่วง 10,000 - 20,000 บาท และระยะเวลาในการทำงานน้อยกว่า 1 ปี 2. ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของบุคลากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยรวมอยู่ในระดับมาก รายด้าน พบว่า การมองโลกในแง่ดีโดยรวมอยู่ในระดับมากเป็นลำดับแรก รองลงมาคือ ความหวังในการทำงาน ความยืดหยุ่นทางอารมณ์ และความเชื่อมั่นในตนเอง 3. ความเจริญก้าวหน้าในอาชีพของบุคลากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยรวมอยู่ในระดับมาก รายด้านพบว่า ความก้าวหน้าในการพัฒนาตนเองเป็นลำดับแรก รองลงมาคือ ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และความก้าวหน้าในเงินเดือน และ 4. ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกกับความเจริญก้าวหน้าในอาชีพ มีความสัมพันธ์เชิงบวกอยู่ในระดับปานกลาง (R=0.637)

References

กศริน ตรีสุวรรณ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าของอาชีพข้าราชการส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

คาลอส บุญสุภา. (2564). ทุนทางจิตใจหรือทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก (Positive Psychological Capital). สืบค้น 1 พฤษภาคม 2566, https://surcr.blogspot.com/2021/06/posititve-psychological-capital.html

ชูศักดิ์ ตันทอง. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของพนักงานบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) และตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (2566). รายงานประจำปี 2566 บริษัท อากาศยานไทย จำกัด (มหาชน). สืบค้น 1 พฤษภาคม 2566, https://investor.airportthai.co.th/misc/one-report/20240202-aot-one-report-2023-th.pdf

พัลพงศ์ สุวรรณวาทิน และเรวดี วัฒฑกโกศล. (2664). ล้มแล้วลุกได้..หากเรามีทุนทางจิตวิทยา. สืบค้น 1 พฤษภาคม 2566, https://www.psy.chula.ac.th/

th/feature-articles/psy-cap-resilience.

สุวิมล ติรกานันท์. (2549). การใช้สถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สังเวียน นิ่มนวล. (2561). การพัฒนาสมรรถนะหลักที่มีผลต่อความก้าวหน้าด้านอาชีพของบุคลากร การท่องเที่ยว กรมการท่องเที่ยวกระทรวงแถลงข่าววัฒนธรรมและท่องเที่ยว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 7(1), 138 - 145.

สัญชาติ พรมดง และกนกพร ชัยประสิทธิ์. (2561). ทุนทางจิตวิทยาด้านบวกที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน). วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 5(2), 141 - 152.

อัมรัน สาแหล่ะ. (2556). ปัจจัยด้านจิตวิทยาเชิงบวกการสนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Annaç, G, S. & Gün, S (2022). Psychological capital level of airport employees and the relationship between workplace happiness. Uluslararası İktisadi ve İdari İncelemeler Dergisi, 36, 193-208. https://doi.org/10.18092/ulikidince.1041484

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row.

Huang, Y.C., et al. (2023). Psychological capital as a source of career adaptability, job satisfaction, and life satisfaction among tour operators and guides during a global crisis capital. Tourism Management Perspectives, 49(1), 101188

Jung, H. S., & Yoon, H. H. (2015). The impact of employees’ positive psychological capital on job satisfaction and organisational citizenship behaviours in the hotel. International Journal of Contemporary Hospitality Management, 27(6), 1135–1156. https://doi.org/10.1108/IJCHM-01-2014-0019

Nash, J. (2015). The 5 Founding Fathers and A History of Positive Psychology. Retrieved May 2, 2023, from https://positivepsychology.com/founding-fathers/#wave

Luthans, F., et al. (2007). Positive Psychological Capital: Measurement and relationship with performance and satisfaction. Personnel Psychology, 60(3), 541 - 572.

Luthans, F., et al. (2004). Positive Psychological Capital: Beyond Human and Social Capital. Business Horizons, 47(1), 45-50.

Sutcliffe, K.M. & Vogus, T.J. (2003). Organisation for Resilience. Positive Organisational Scholarship: Foundation for a New Discipline. K.S. Cameron, J.E. Dutton, and R.E. Quinn. San Francisco, CA: Berrett-Koehler.

Youssef, C.M. & Luthans, F. (2005). Positive Organization Behavior in the Workplace: The Impact of Hope, Optimism, and Resilience. Journal of Management, 33(5), 774-800.

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd Ed.), New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-01

How to Cite