การส่งเสริมเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
คำสำคัญ:
การส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, จังหวัดพระนครศรีอยุธยาบทคัดย่อ
บทความวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1. วิเคราะห์องค์ประกอบและปัจจัยในการส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ 2. ศึกษากระบวนการส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ 3. นำเสนอแนวทางการส่งเสริมเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้างมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 25 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาและพรรณนาความ
ผลการวิจัยพบว่า 1. การส่งเสริมเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามกระบวนการ PDCA เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและผลลัพธ์ของกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ การบริการสาธารณะ มีความกระตือรือร้นในการการประชาชน การประชาชน ผู้บริหารและบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นตัวแทนที่ดีและให้ความไว้วางใจแก่ประชาชน 2. การบริหารจัดการฐานข้อมูลเป็นส่วนสำคัญในการสนับสนุนและส่งเสริมเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและการวางแผนและการพัฒนาเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. แนวทางการส่งเสริมเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีสร้างพัฒนาและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่นั้น ๆ
References
คู่มือเมืองอัจฉริยะประเทศไทย. (2563). บทนำของเมืองอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล.
จารุวรรณ ประวันเน. (2560). กระบวนการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ: กรณีศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
สงคมศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นันทวัน วงศ์ขจรกิตติ. (2559). นโยบายการให้บริการจังหวัดอัจฉริยะของประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(3), 365-377.
รชต ทิมาสรวิชกิจ และคณะ. (2559). การเปรียบเทียบการค้นคืนข้อมูลบนเทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่กับระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กรณีศึกษาตัวอย่างชุดข้อมูลบริการสุขภาพ. Journal of the Thai Medical Informatics Association, 2(2), 134 –145.
วทัญญา นามบุรี. (2556). การศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมขนส่ง). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2553). ศึกษาวิเคราะห์และประเมินผลการถ่ายโอนภารกิจงานวาง/ปรับปรุงผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน. กรุงเทพฯ: กรมโยธาธิการและผังเมือง.
สาครรัตน์ นักปราชญ์ และคัคนางค์ จามะริก. (2559). การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐในรูปแบบ Business Intelligence (BI) ในยุค Big Data. วารสาร กสทช, 9(1), 553 - 560.
สุกัญชลิกา บุญมาธรรม. (2559). การพัฒนาระบบสารสนเทศจัดการฐานข้อมูลงานวิจัย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 3(2), 39-45.
เสมอ นิ่มเงิน. (2565). เมืองอัจฉริยะ (Smart City) คืออะไร และจะเกิดขึ้นได้อย่างไร. สืบค้น 21 มีนาคม 2565, จาก https://www.engineeringtoday.net.
อณุวัฏ บรรลุทางธรรม. (2554). คุณภาพการให้บริการรถไฟฟ้า (BTS) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น