ปัญหาการพิสูจน์และการรับฟัง พยานหลักฐานประเภทวีดิทัศน์จากกล้องวงจรปิดในคดีอาญา

Main Article Content

ติณเมธ วงศ์ใหญ่
เนติพงษ์ หล่าวเจริญ

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันสังคมมีความเจริญทางเทคโนโลยีเป็นอย่างมาก ซึ่งส่งผลให้ภาพและเสียงที่บันทึกภาพได้จากกล้องวงจรปิดสามารถใช้เป็นพยานหลักฐานที่มีคุณค่าในเชิงพิสูจน์คดีอาญา เพื่อการนำสืบและพิสูจน์ข้อเท็จจริงในการดำเนินคดีทางอาญาได้ แม้ในปัจจุบันจะมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการนำสืบและการรับฟังพยานหลักฐานประเภทภาพและเสียงจากกล้องวงจรปิดแล้วตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาก็ตาม แต่อย่างไรก็ดียังคงมีประเด็นที่ควรศึกษาเพิ่มเติมอีกหลายประเด็น นั่นก็คือ สถานะของพยานหลักฐานที่ได้จากกล้องวงจรปิด, ปัญหา และอุปสรรคในการนำสืบและการรับฟังพยานหลักฐานที่ได้จากกล้องวงจรปิด เพื่อทำให้เกิดความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานดังกล่าวด้วย วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้ เพื่อเสนอแนะการแก้ไขกฎหมายให้มีความชัดเจน วิธีการนำสืบพิสูจน์ให้ถูกต้อง หลักเกณฑ์การตั้งผู้เชี่ยวชาญ และหน่วยงาน เพื่อสามารถสนับสนุนช่วยเหลือในการพิสูจน์พยานหลักฐานจากกล้องวงจรปิด (CCTV) เพื่อการปรับปรุงกฎหมายให้มีประสิทธิภาพต่อไป

Article Details

How to Cite
วงศ์ใหญ่ ติณเมธ, และ หล่าวเจริญ เนติพงษ์. “ปัญหาการพิสูจน์และการรับฟัง พยานหลักฐานประเภทวีดิทัศน์จากกล้องวงจรปิดในคดีอาญา”. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 13, no. 2 (ธันวาคม 25, 2020): 91–118. สืบค้น เมษายน 22, 2025. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/lawnujournal/article/view/237592.
บท
บทความวิจัย

References

CA Nancy. “ch.soc., 18 Janv. 2017, n 1500138/.” Accessed December 19, 2019. https://www.doctrine.fr/d/CA/Nancy/2017/C955455099E4F61ECCA2B?fbclid=IwAR1EOd_VTDqBm0vlTgm53p1XoX9oYLPNkW3QYJwp8P7bxs598dQKAzDOM.

Cour d’appel de Nancy. “Chambre Sociale, 18 janvier 2017, n 15/00138.” Accessed December 19, 2019. https://www.doctrine.fr/d/CA/Nancy/2017/C955455099E4F61ECCA2B?fbclid=IwAR1EOd_VTDqBm0vlTgm53p1XoX9oYLPNkW3QYJwp8P7bxs598dQKAzDOM

Cour de Cassation. “Civile, Chambre Sociale, 17 Juin 2009, 07-44.29.” Accessed December 21, 2019. https://www.legifrance.gouv.fr/affichJuriJudi.do?idTexte=JURITEXT000020773236.

IDRLab. “Data Logging Devices that are Currently Used.” Accessed December 22, 2019. https://www.idrlab.com/content/12614/. [In Thai]

Jaran Pukditanakul. Law of Evidence. 14th ed. Bangkok: The Thai Bar Under The Royal Patronage, 2019. [In Thai]

Praphat Nuannet. Teaching Documentation CB 301, Radio and Television Program Production. Broadcasting and Television Program. Bangkok: Faculty of Communication Arts University of the Thai Chamber of Commerce. [In Thai]

Prasit Kovilaikun. “Memo of the Criminal Procedure Code, Section 39 (4) and the Verdict Section 39 (4).” Law Journal 4, no. 3 (2008): 9. [In Thai]

Santad Sujarid. “Resurrecting the Criminal Case for Reconsideration.” Master’s thesis Faculty of Law Chulalongkorn University, 1995. [In Thai]

Sittikul Charoensri, and Nithiwat Kladnak. Research on Maintenance of Closed Circuit Television Systems by AMR Asia Company Limited in the Community Area. Bangkok: Engineering and ResearchIindustry Siam University, 2013. [In Thai]

Somchai Ratanasakul. Law of Evidence. 3th ed. Bangkok: Faculty of Law University of the Thai Chamber of Commerce, 2009. [In Thai]

Sompob Hodrakit. “Resurrecting the Criminal Case for Reconsideration.” Law Journal 2, no.2 (1976): 50-51. [In Thai]

Tassanee Angsanan. “Repeated Investigation.” Master’s thesis Faculty of Law, Chulalongkorn University, 1982. [In Thai]

Thanee Singhanat. Explanation of Evidence, Civil Cases and Criminal Cases. 16th ed. Bangkok: Krung Siam Publishing Company Limited, 2019. [In Thai]

Thomas Murphy. “The Admissibility of CCTV Evidence in Criminal Proceedings.” International Review of Law Computers and Technology 13, no. 3 (1999): 424.