State of necessity : ข้อตกลงทวิภาคีและกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศในกฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ

Main Article Content

Sirichai Mongkolkietsri

Abstract

State of necessity เป็นหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่ได้รับการยอมรับทั้งในรูปแบบของ กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศและสนธิสัญญาโดยเฉพาะอย่างยิ่งสนธิสัญญาทวิภาคีว่า ด้วยการส่งเสริมและการคุ้มครองการลงทุนระหว่างประเทศ โดยหลักกฎหมายดังกล่าวนี้รัฐภาคี สามารถยกขึ้นกล่าวอ้างเพื่อยกเว้นการปฏิบัติตามพันธะกรณีระหว่างประเทศได้ แต่สภาพปัญหา ที่เกิดขึ้นในคดี CMS และ LG&Eคือ การปรับใช้หลักกฎหมายดังกล่าวนี้ศาล หรืออนุญาโตตุลาการ ระหว่างประเทศควรจะนำเอาหลักกฎหมายใดมาปรับใช้ก่อนระหว่างกฎหมายจารีตประเพณี ระหว่างประเทศและสนธิสัญญาเพราะในหลักกฎหมายระหว่างประเทศนั้นบ่อเกิดแห่งกฎหมาย ระหว่างประเทศถือว่ามีลำดับศักดิใท่ากันไม่ว่าจะเป็นสนธิสัญญา กฎหมายจารีตประเพณีระหว่าง ประเทศ หรือหลักกฎหมายทั่วไป

Article Details

How to Cite
Mongkolkietsri, Sirichai. “State of Necessity : ข้อตกลงทวิภาคีและกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศในกฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ”. Naresuan University Law Journal 3, no. 1 (March 27, 2010): 168–189. Accessed September 1, 2024. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/lawnujournal/article/view/98615.
Section
Research Articles
Author Biography

Sirichai Mongkolkietsri, Assistant Professor

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ