การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจออมเงินเพื่อสังคมผู้สูงอายุของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวายในจังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจออมเงินเพื่อสังคมผู้สูงอายุของผู้บริโภคเจเนอเรชันวายในจังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษากลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ด้วยแบบสอบถามจำนวนทั้งสิ้น 400 คน พบว่า ผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออมเงินเพื่อสังคมผู้สูงอายุในระดับปานกลาง โดยได้คะแนนเฉลี่ย 5.99 จากคะแนนเต็ม 10 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการออมเงินเพื่อสังคมผู้สูงอายุในระดับเห็นด้วย โดยได้คะแนนเฉลี่ย 3.90 จากคะแนนเต็ม 5 ส่วนด้านพฤติกรรมพบว่า ร้อยละ 85.8 ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวายในอำเภอเมืองเชียงใหม่มีการออมเงิน แต่มีเพียงร้อยละ 56.0 เท่านั้นจากผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดที่มีการออมเงินเพื่อสังคมผู้สูงอายุ จากการใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression Ananlysis) ด้วยแบบจำลองโลจิต (Logit Model) พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออมเพื่อสังคมผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติมี 3 ปัจจัย ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจทางการเงิน ความคิดเห็นเชิงบวกเกี่ยวกับการออมเงิน และ รายได้
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- บทความหรือข้อคิดเห็นใดใดที่ปรากฏในวารสารวิทยาลัยบัณิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน ซึ่งบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
- บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
References
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2562). จำนวนประชากร. ค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2564, จาก https://stat.bora.dopa.go.th/new_stat/webPage/statByAgeMonth.php
กรมสุขภาพจิต. (2561). กายฟิต-จิตดี-มีออม หลักเตรียมพร้อมก่อนเกษียณ. ค้นเมื่อ 30 เมษายน 2564, จาก
https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=27722
กษวรรณ ขจีเสรี. (2560). การวางแผนทางการเงินก่อนเกษียณอายุ. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 1(1), 40-47.
ชลธิชา มูลละ. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการออมและพฤติกรรม การออมเพื่อการวางแผนชีวิตหลังเกษียณของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
ชารวี บุตรบำรุง. (2555). รายได้และรูปแบบการออมเพื่อการเตรียมพร้อมสู่วัยสูงอายุของประชาชนอายุระหว่าง 30 – 40 ปี ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ฉัตรพงศ์ วัฒนจิรัฎฐ์. (2557). จัดพอร์ตลงทุนด้วย Alternative Investments. ค้นเมื่อ 9 มิถุนายน 2564, จาก
www.tsi--thailand.org/index.php?option=com_content&task
ซานียะฮ์ ช่างวัฒนกุล. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมของประชาชนจังหวัดสตูล. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2558). วางแผนเกษียณ. ค้นเมื่อ 9 ธันวาคม 2564, จาก
https://www.set.or.th/education/th/start/start_start_3_5.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). ผลการสำรวจทักษะทางการเงินของไทย (Financial Literacy) ปี 2563 และการดำเนินงานด้านการส่งเสริมความรู้ทางการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย. ค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2564, จาก
https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Press/2021/Pages/n7764.aspx
มนัสวี ศรีนนท์. (2561). ทฤษฎีเจเนอเรชั่นกับกรอบวิธีคิด. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร, 6(1), 364-373.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2559. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ศิวัช กรุณาเพ็ญ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออมและพฤติกรรมการออมของคน Gen Y. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุปัญนี ปลั่งกมล. (2552). การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการออมของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตรพัฒนาการ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรเชษฐ ชูตระกูลทรัพย์. (2557). ทัศนคติของนักลงทุนต่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ประเภทคอนโดในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงินบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). สภาพัฒน์ฯคาด อีก20ปี ไทยจะมีผู้สูงอายุพุ่งถึง 31 เปอร์เซ็นต์. ค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2564, จาก https://thaitgri.org/?p=39327
Ando, A., and Modigliani, F. (1963). The “Life Cycle” hypothesis of saving: aggregate implications and tests. American Economic Review, 53(1),55-84.
Atkinson, A., & Messy F.-A. (2012). Measuring Financial Literacy: Results of the OECD / International Network on Financial Education (INFE) Pilot Study [Working paper]. OECD Working Papers on Finance, Insurance and Private Pensions. https://doi.org/10.1787/20797117
Farr, R. M. (1997). The new economic mind: The social psychology of economic behavior. In A. Lewis, P. Webley, & A. Furnham (eds.), Hemel Hempstead, Harvester/Wheatsheaf (pp. 713-717). New York: Harvester-Wheatsheaf.
Gursoy, D., Maier, T., & Chi, C. (2008). Generational differences: An examination of work values and generational gaps in the hospitality workforce. International Journal of Hospitality Management, 27(3), 448-458.
Ladsaart, J., Tamjinda, R., & Suwannapan, S. (2018). Factors Influencing Personal Saving Behaviors of the Working-aged Population in the Lao People’s Democratic Republic. Journal of Modern Management Science, 11(1), 124-138.
Mongkol, P. (2020). Tax Measurement for Elderly Society. Graduate Law Journal, 13(3), 357-367.
Potrich, A. C. G., Vieira, K. M., & Mendes-Da-Silva, W. (2016). Development of a financial literacy model for university students. Management Research Review, 39(3), 356-376.
Sereetrakul, W. (2014). Factors predicting saving behavior of students in bangkok metropolitan area. Suthiparithat Journal, 28(85), 301-315.
Taber, K. S. (2018). The Use of Cronbach’s Alpha When Developing and Reporting Research Instruments in Science Education. Research in Science Education, 48, 1273–1296. https://doi.org/10.1007/s11165-016-9602-2
United Nation. (2019). World Population Ageing 2019. New York: United Nation.