การบริหารความเสี่ยงเพื่อความสำเร็จขององค์กร : การนำแบบจำลองธุรกิจแคนวาสมาใช้ในการระบุความเสี่ยง

Main Article Content

นภา นาคแย้ม

บทคัดย่อ

การประกอบธุรกิจ ทุกองค์กรล้วนมีวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการดำเนินงาน  แต่จะสามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กรได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร ทั้งที่องค์กรสามารถควบคุมได้ และไม่สามารถควบคุมได้  ซึ่งเรียกว่า “ความเสี่ยง” โดยทั่วไปความเสี่ยงขององค์กรแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่  1) ความเสี่ยงทางด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk)  2) ความเสี่ยงทางด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)  3) ความเสี่ยงทางด้านการเงิน (Financial Risk) และ 4) ความเสี่ยงทางด้านกฎหมาย และข้อกำหนดผูกพันองค์กร (Compliance Risk)  ดังนั้นองค์กรควรให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยงควบคู่กับการดำเนินงานตามแผนงาน ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย 1) การระบุความเสี่ยง  2) การประเมินความเสี่ยง 3) การตอบสนองความเสี่ยง และ 4) การติดตามและประเมินผล การนำแบบจำลองธุรกิจแคนวาส (Business Model Canvas) มาใช้ในการระบุความเสี่ยง จะทำให้องค์กรสามารถมองเห็นภาพรวมของธุรกิจ และกิจกรรมของธุรกิจได้ชัดเจนมากขึ้น  ทำให้สามารถระบุสาเหตุที่แท้จริงของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในแต่ละกิจกรรม และหาแนวทางจัดการกับความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

Article Details

How to Cite
นาคแย้ม น. (2023). การบริหารความเสี่ยงเพื่อความสำเร็จขององค์กร : การนำแบบจำลองธุรกิจแคนวาสมาใช้ในการระบุความเสี่ยง. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 16(1), 124–139. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/mbakkujournal/article/view/261138
บท
บทความวิชาการ

References

กุลิสรา อนันต์นับ และวรัญญา ติโลกะวิชัย. (2563). พฤติกรรมของคนทำงานกับการใช้แอปพลิเคชัน สำหรับลดความเสี่ยงจากออฟฟิศซินโดรม ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 13(2), 47-70.

โคจิสติกส์. (2564). เพิ่มช่องทางการสร้างกำไร ด้วยการสร้าง Value Chain. ค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2565, จาก https://www.cogistics.co.th/th/blog/knowledge/value-chain-increase-a-business-efficiency/

จุฑามน สิทธิผลวนิชกุล. (2561). แนวทางการบริหารความเสี่ยงองค์กร COSO Enterprise Risk Management 2017.วารสารวิชาชีพบัญชี, 14(42), 111-124.

เผชิญ อุปนันท์. (2563). การบริหารความเสี่ยงองค์กร. ค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2565. จาก https://med.mahidol.ac.th/risk_mgt/th/article/03202017-1523

ธนพงศ์พรรณ ธัญญรัตตกุล. (2563). Digital transformation canvas โมเดลทรานส์ฟอร์มธุรกิจเพื่อสร้างการเติบโตครั้งใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิช.

นุกูล แดงภูมี. (2564). การบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร เครื่องมือบริหารเชิงรุกปัจจัยความสำเร็จขององค์กร. วารสารวิจัยราชภัฎธนบุรีรับใช้สังคม, 7(1), 54-71.

วิทยา อินทร์สอน. (2559). การบริหารความเสี่ยงในองค์กร. ค้นเมื่อ 7 เมษายน 2565 จาก http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=553&section=1&issues=26

ศรัณย์ ชูเกียรติและคณะ. (2563). ประเด็นสำคัญของการบริหารความเสี่ยงขององค์กร : การบูรณาการร่วมกับกลยุทธ์และผลการปฏิบัติงาน (COSO-ERM 2017). วารสารวิชาชีพบัญชี, 16(49), 60-71.

สภาวิชาชีพบัญชี. (2562). การบริหารความเสี่ยงองค์กร การบูรณาการร่วมกับกลยุทธ์และผลการปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ: บริษัท แอคทีฟพริ้นท์ จำกัด.

สุนทรีย์ วิพัฒนครุฑ, ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ และไชยนันท์ ปัญญาศิริ. (2558). ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยงที่ส่งผลแต่การบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 9(2), 167-178.

อิสริยะ สัตยาพิบูลย์. (2564). ฝ่าคลื่นธุรกิจพิชิตเป้าหมาย (Risk Management). [VDO] ค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2564, จาก https://space.cbs.chula.ac.th/course/176/info/?is coniclex=false

Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission. (COSO.) (2017). Enterprise Risk Management: Integrating with Strategy and Performance. Retrieved September 20, 2022, from https://www.coso.org/Shared%20Documents/2017-COSO-ERM-Integrating-with-Strategy-and-Performance-Executive-Summary.pdf