ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สมุทรสาคร สมุทรสงคราม

ผู้แต่ง

  • พรหมพิริยะ พนาสนธิ์ -
  • กรปภา เจริญชันษา
  • อรวรรณ ชมชัยยา
  • ชัยการ วาทะงาม

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

            การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม (2) ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างคือครูโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย  ใช้วิธีสุ่มแบบการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling) จำนวน 113 คน  เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่  ค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product-Moment Correlation Coefficient)

                ผลการวิจัยพบว่า: (1) ระดับความคิดเห็นของครูโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัยเกี่ยวกับทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารของโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงครามโดยรวมและรายด้านอยู่ใน ระดับมาก (2) ระดับความคิดเห็นของครูโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัยเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารของโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงครามโดยรวมและรายด้านอยู่ใน ระดับมาก และ(3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัยวิทยาลัยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม ในภาพรวมที่ความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 (rXtotYtot = .75)

References

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่2)

พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.

กนกพร มาอ้วน. (2564). การบริหารการศึกษาระดับขั้นพื้นฐานอย่างมืออาชีพ ในศตวรรษ ที่ 21. In

Proceeding National & International Conference (Vol. 2, No. 14, p. 1257).

กมล คล้ำมณี และคณะ(2564) “ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี”.. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปี

ที่ 7 ฉบับที่ 1 (2022): มกราคม 2565.

กฤษธรา ยองใย. (2561). ผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานการวิจัย

ระดับชาติ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ชัยยนต์ เพาพาน. (2558). ผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่ในศตวรรษที่ 21. การประชุมวิชาการ ระดับชาติครุ

ศาสตร์ ครั้งที่ 1การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน : ทิศทางใหม่ในศตวรรษที่ 21.

ชูศรี วงศ์รัตนะ, และคณะ (2545).การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เมธีทิปส์.

โชษิตา ศิริมั่น. (2564). ทักษะการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารในภาวะวิกฤตโควิด-19 ของสถานศึกษาใน

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8: เรื่อง สู่

ชีวิตวิถีใหม่ด้วยงานวิจัยทางสุขภาพและบริการ,นครราชสีมา.

ภารดี ชาวนรินทร์. (2565). “ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตร์สังกัดสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี”. วารสารวิจัยวิชาการ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565). (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/248289. 24 สิงหาคม 2565.

พิทยา ดาคม. (2565). ทักษะการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น. Journal of Modern Learning Development ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565. (ออนไลน์).แหล่งที่มา : https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/245008. 23 สิงหาคม 2565.

วราพร บุญมี และพิมผกา ธรรมสิทธิ์ . (พฤษภาคม 2563). “ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของ ผู้บริหาร

สถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดอุตรดิตถ์,” วารสารมหาจุฬานครทรรศน์. 7(5) : 172 - 182.

วิไลวรรณ พ่อค้าช้าง. (2564). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในสหวิทยาเขตปิยมิตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. มหาวิทยาลัยรามคำแหง. Journal of Roi Kaensarn Academi ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/ 248066. 23 สิงหาคม 2565.

วุฒิพงษ์ ศรีจันทร์ และคณะ (2561). “ทักษะการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยพะเยา, 6(2), 124 – 139. สืบค้นจาก: https://so03.tci-

thaijo.org/index.php/Humanties-up/article/view/196552/136662

สัตตบุษย์ โพธิรุท. (2564). ทักษะการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

สุวัฒน์ กู้เกียรติกาญจน์. (2564). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา. มหาวิทยาลัยเกริก. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2564. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/252089/170540. 23 สิงหาคม 2565.

โสภา วงษ์นาคเพ็ชร.(2553).การบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2.วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อดุลย์พร ชุ่มชวย และ ธีระพงศ์ บุศรากูล. (2562). “ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง.” วารสารศึกษาศาสตร์ มมร มหาวิทยาลัย

มหามกุฏราชวิทยาลัย. 7 (2), 175-185.

อติกาญจน์ ศรีสังข์. (2564). ทักษะการบริหารงานในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

Chester, N.M. (1996). An Introduction to School Administration : Selected reading. New York

: McMillan Company.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York : Harper Collins

Publishers.( pp.202-204).

Krejcie, R.V., & D.W. Morgan. (1970). “Determining Sample Size for Research Activities”. Educational

and Psychological Measurement. 30(3) : 607 – 610.

Servet OZDEMİR. (2020). Examination of the relationship between school principals’ 21st century skills and their strategic leadership according to teachers’ opinions. Pegem Eğitim ve Öğretim Dergisi, 10(2), 2020, 399-426.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-29