รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหารในสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา กระทรวงกลาโหม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา และตรวจสอบความสอดคล้องของ รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหารกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา ตัวแปรที่เป็นปัจจัยต่อสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหาร ขั้นตอนที่ 2 การสร้างรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหาร และขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหารกับข้อมูลเชิงประจักษ์กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูที่สอนในสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 460 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหารมีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ ในเกณฑ์ดี (χ2 = 40.58, df = 35, p = 0.23, RMSEA = 0.019, GFI = 0.99, AGFI = 0.95 และ RMR = 0.006) โดยรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหาร ประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยการบริหาร ปัจจัยความผูกพันต่อองค์การปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ปัจจัยในรูปแบบนี้สามารถอธิบายความแปรปรวนของสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหารได้ร้อยละ 82 ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะครู อาชีวศึกษาทหารมีค่าสัมประสิทธิ์จากมากไปน้อย ได้แก่ ปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อสมรรถนะครูอาชีวศึกษาทหารมีค่า
สัมประสิทธิ์จากมากไปน้อย ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยความผูกพันต่อองค์การ และปัจจัยการบริหาร
Article Details
References
กระทรวงกลาโหม. (2560). นโยบายเร่งด่วนของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560.
กรุงเทพฯ: กระทรวงกลาโหม.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ.2547. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กรุณา โถชารี. (2560). รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2525). ยังเติร์กกับทหารประชาธิปไตย: การวิเคราะห์บทบาททหารในเมืองไทย. กรุงเทพฯ:ปรัชญาการพิมพ์.
ดวงนภา มกรานุรักษ์. (2554). อนาคตภาพของการอาชีวศึกษาไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2554-2564) (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎี
บัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ถวิกา เมฆอัคฆกรณ์. (2559). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุครูมืออาชีพทางอาชีวศึกษา (วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธารวิทย์ เสวกดรุณทร. (2556). การพัฒนาแบบจำลองเชิงสาเหตุของความผูกพันต่อองค์การของอาจารย์ในหน่วยงานสังกัด
ส่วนการศึกษา กองบัญชาการกองทัพไทย (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
เนตรรุ้ง อยู่เจริญ. (2553). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของครูสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พร ภิเษก. (2546). วัฒนธรรมองค์การและปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนเหล่าสายวิทยาการของกองทัพบก
(วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สจีรัตน์ แจ้งสุข. (2558). รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นครูมืออาชีพ ในสถาบัน
อาชีวศึกษาเอกชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 6(2), 33-43.
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. (2558). รายงานผลการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาระดับกองทัพ. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.
_______. (2559). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันการศึกษาของกองทัพระดับต่ำกว่าปริญญาตรี. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.
_______. (2560). คู่มือการประเมินข้าราชการทหารที่ทำหน้าที่สอน เพื่อให้มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.
สุวรรณา สุ่มเนียม และสุวรรณา นาควิบูลย์วงศ์. (2559). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการ
ทำงานของครูอาชีวศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 10(2), 53.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). สภาพการจัดการศึกษาเฉพาะทางในประเทศไทย ปี 2556. กรุงเทพฯ:
กระทรวงศึกษาธิการ
วิภานันท์ ภวพันธ์ และสุวรรณา นาควิบูลย์วงศ์. (2558). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน
ฝ่ายช่าง บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน). วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์, 36(3), 498-509.
Alderfer, C. P. and Guzzo R. A. (1979). Life experiences and adults' enduring strength of desires in
organizations. Administrative Science Quarterly, 2(1), 347-361.
Allen, N. J. and Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuanceand normative
commitment to the organization. Journal of occupational and organizational psychology, 63(1), 1-18.
Anderson, J. A. (2000). Explanatory roles of mission and culture: Organizational effectiveness in Tennessee’s
community colleges. Memphis: The University of Memphis.
Bass, R. M. (1990). Transformational Leadership Development. California: Consulting Psychologists Press.
Blase, J.D. (1987). Instructional Leadership Activity of Elementy Principals in Effective School.
Dissertation Abstracts International, 50(06 A), 1492.
DeBruyne, J. W. (2001). A Study to Identify the Factors Responsible for Job Dissatisfaction and Low
Teacher Morale (MS Thesis). University of Wisconsin-Stout.
Herzberg, F. (1959). The motivation to work. New York: Holy Wiley and Sons.
Hoy, W. K. and Miskel C. G. (2008). Educational Administration: Theory, Research, and Practice.
New York: McGraw-Hill.
Linderman, Merrenda and Gold (1980). Introduction to Bivariate and Multivariate Analysis. Retrieved
October 28, 2009, from http://www. llinois.com /content/apl
Maslow, A. (1970). Motivation and Personalit (2nd ed.). New York: Harpers and Row.
McClelland, D.C (1985). Human motivation. Cambridge: Cambridge University Press Management.
Mekarkakorn, T and Narkwiboonwong, S. (2017). A Synthesis Elements of Professional Vocational
Education Teachers in Thailand. Dusit Thani College Journal, 11(2), 271-253.
Prosser C. A. and Quigley T. H. (1949). Vocational Education in a Democracy. New Jersey: American Technical
Society.
Robbins and Judge. (1987). Organizational Behavior. New Jersey: Prentice-Hall.
Schermerhorn. (2003). Organizational Behavior (9th ed.). New York: John Wiley & Sons, Inc.
Scirbner, J. P. (1999). Professional Development: Untangling the influence of Work Context on Teacher
Learning. Educational Administration Quarterly, 35(2), 238-266.
Steers and Porter. (1991). Antecedents and outcomes of organizational commitment. Administrative
science quarterly, 221(1), 46-47.