การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยไตรสิกขา

Main Article Content

สุมานพ ศิวารัตน์

Abstract

บทคัดย่อ

          ไตรสิกขา  คือข้อที่จะต้องศึกษาและปฏิบัติเพื่อฝึกกาย วาจา และจิตใจหรือสติปัญญาให้สูงขึ้น เป็นระบบการศึกษาที่ทำให้คนมีการพัฒนาอย่างบูรณาการและทำให้มนุษย์เป็นองค์รวมของการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ

การเรียนรู้ตามไตรสิกขา เป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนอย่างรอบด้านตามหลักการเรียนรู้ในพุทธศาสนาเพื่อผลในทางโลกหรือผลทางสังคมทำให้สังคมโลกเกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยดีงามและเพื่อผลในทางธรรมทำให้เกิดความสงบสุขในชีวิต

การพัฒนาตนตามไตรสิกขา เป็นการฝึกปฏิบัติเพื่อชีวิตที่ดีงาม การฝึกให้คนเจริญงอกงามเช่นนี้เป็นหนทางที่นำเขาเหล่านั้นเข้าสู่ถึงอิสรภาพทางจิตและเกิดสันติสุขอย่างแท้จริง  วิธีการฝึกหรือกระบวนการฝึกที่ทำให้ชีวิตที่ดีงามนั้นเป็น “สิกขา” ส่วนตัวชีวิตที่ดีงามหรือมีวิถีชีวิตที่ดีที่เกิดจากการฝึกนั้นก็เป็น “มรรค”   การดำเนินชีวิตที่ดีที่ถูกต้อง คือ มรรค แต่การที่จะมีชีวิตที่ดีงามและถูกต้องได้ก็จะต้องมีการฝึกฝนและพัฒนา การฝึกฝนและพัฒนาก็ คือ สิกขา เพราะฉะนั้น สิกขา ก็คือการฝึกมนุษย์ให้มีชีวิตที่ดีและถูกต้อง

 

คำสำคัญ: คุณภาพชีวิต  ไตรสิกขา  การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยไตรสิกขา

 

Abstract

          The threefold is to study and practice to train the mind and body, speech or cognitive performance. An education system that puts people to develop an integrated and holistic human development of quality.

          Learning by threefold Learning to develop their all-round way the principles learned in Buddhism to result in the social world or the world community was orderly and good results in a fair way to make peace life.

          By developing its threefold the practice good life.Training people to thrive as a way to bring them into the freedom and peace of mind, literally. How to train or practice processes that make life as well as a “virtue” private good life or a way of life resulting from the practice that it is, “Magga”. A good lifestyle is the right Magga but to live a good and valid, it has to be trained and developed Training and development of virtue is virtue, therefore, is to train people to live a good and accurate.

 

Keywords: Life Quality, the Threefold, Life Quality Development with the Threefold Training 

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Article)