การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง หลักการนับเบื้องต้นโดยใช้ชุดกิจกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชวินิตมัธยม

ผู้แต่ง

  • กฤช พรตด้วง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ช่อเอื้อง อุทิตะสาร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, หลักการนับเบื้องต้น, ชุดกิจกรรม

บทคัดย่อ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมกับเกณฑ์ร้อยละ 60 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชวินิต มัธยม จำนวน 42 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง หลักการนับเบื้องต้น โดยใช้ชุดกิจกรรม 2) ชุดกิจกรรมเรื่อง หลักการนับเบื้องต้น 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักการนับเบื้องต้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักการนับเบื้องต้นโดยใช้ชุดกิจกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60

References

กชกร พัฒเสมา. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกลบ คูณ หารระคนสำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2560). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

โชติกา ภาษีผล. (2559). การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ Learning Measurement and Evaluation. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประภาสิริ ปราโมทย์. (2561). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ร่วมมือควบคู่กับเกมเพื่อ ส่งเสริมผลการเรียนรู้และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สถาบันทดสอบทางการศึกษา. (2562). รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-net) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2563, จาก http://www.newonetresult.niets.or.th.

สุคนธ์ สินธพานนธ์. (2551). นวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : เทคนิคพริ้นติ้ง.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย.

อดิศร ลิประเสริฐ, และพงศ์รัศมี เฟื่องฟู. (2559). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสำพันธ์ สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้โปรแกรมเรขาคณิตพลวัต. วารสารวิจัยทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 11(1), 188-197.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-15