การเรียนออนไลน์กับการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษา คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คำสำคัญ:
การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง, การเรียนออนไลน์, นักศึกษา, คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บทคัดย่อ
การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง (Self-directed learning) ในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มีวัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษา 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับการเรียนรู้ด้วย
การนำตนเองในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษา 3) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมและความเครียดกับการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองในการเรียน
ออนไลน์ของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับชั้นปีที่ 1–4 ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง ปีการศึกษา 2563 จำนวน 312 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน
การวิเคราะห์คือ สถิติพื้นฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance ANOVA) และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1) การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง ในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านปรากฏว่า นักศึกษามีลักษณะของการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองในการเรียนออนไลน์ในประเด็นด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเองมากที่สุดรองลงมาเป็นประเด็นด้านความรักในการเรียนรู้ และในประเด็นด้านการเปิดโอกาสต่อการเรียนรู้น้อยที่สุด 2) ปัจจัยด้านศูนย์การศึกษาและความถนัดในการใช้คอมพิวเตอร์ที่แตกต่างมีผลต่อการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญ ในขณะที่ปัจจัยด้านระดับการศึกษาและผลการเรียนเฉลี่ยสะสมของนักศึกษาไม่มีผลต่อการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองในการเรียนออนไลน์ 3) สภาพแวดล้อมในการเรียนออนไลน์ทุกด้านทั้งสภาพแวดล้อมด้านผู้สอน สภาพแวดล้อมด้านกลุ่มเพื่อนและสภาพแวดล้อมด้านทรัพยากรในการเรียนออนไลน์มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองในการเรียนออนไลน์ ในขณะที่ความเครียดไม่มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองในการเรียนออนไลน์ของนักศึกษา
References
คมสิทธิ์ สิทธิประการ, วิกรม ฉันทรางกูร และภัชญาภา ทองใส. (2563). ผลสัมฤทธิ์การเรียนการอ่านขั้นสูงของนักศึกษาผ่านบทเรียนออนไลน์. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(11), 185-198.
ธัญจิรา จิรนันทกาญจน์. (2559). การใช้แบบเรียนออนไลน์ในการศึกษาแพทยศาสตร์. เวชบันทึกศิริราช, 9(2), 98-106.
ปรินดา ตาสี. (2551). ลักษณะทางจิตและสภาพแวดล้อมทางการเรียนที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร. ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พิมพ์พรรณ เทพสุเมธานนท์ และ สุพิชชา ประสิทธิธัญกิจ. (2553). ศึกษาเรื่องการเรียนรู้ด้วยการนําตนเองของนักศึกษาภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
พัชนี อ่ำแก้ว. (2553). ปัจจัยด้านคุณลักษณะในตนเองและด้านสิ่งแวดล้อมทางการเรียนที่ส่งผลต่อความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและสถิติการศึกษา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี. (2563). การเรียนออนไลน์. สารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ, 9(2), 10.
Bull, Shirley, Solity, Joanthan. (1987). Classroom Management: Principles to Practice. New York: Croom Helm.
Cogen, M. L. (1975). Studies of Teacher Behavior. The Journal of Experimental Education, 34(2), 135-139.
Council on Social Work Education [CSWE]. (2014). Draft 3 of the 2015 Educational Policy and Accreditation Standards (EPAS). Alexandria, VA: Author.
Curtis, J. Bonk, Mimi Miyoung, Lee, Xiaojing, Kou, Shuya, Xu, & Feng-Ru, Sheu. (2015). Understanding the Self-Directed Online Learning Preferences, Goals, Achievements, and Challenges of MIT Open Course Ware Subscribers. Educational Technology & Society, 18(2), 349–368.
Dixon, W. B. (1992). An exploratory study of self-directed learning readiness and pedagogical expectations about learning among adult inmate learners in Michigan. Michigan: Michigan State University.
Fisher, M. King, J. and Tague, G. (2001). Development of a Self-Directed Learning Readiness Scale for Nursing Education. Nurse Education Today, 21(1), 516-525.
Garrison, D. R. (1992). Critical thinking and self-directed learning in adult education: An analysis of responsibilities and control issues. Adult Education Quarterly, 42(3), 136-148.
Good, Carter v. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill, Inc.
Guglielmino, L. M. (1977). Development of the Self-Directed Learning Readiness Scale. Georgia: University of Georgia.
Hans, Selye. (1956). The stress of life. New York: McGraw-Hill.
Hudspeth, & Jerald, Henry. (1992). Student Outcomes: The Relationship of Teaching Style to Readiness for Self-Directed Learning. Dissetation Abstracts International-A. (CD-ROM).
Jivanjee, P., Pendel, K., Nissen, L., & Goodluck, C. (2016). Lifelong Learning in Social Work: A Qualitative Exploration with Social Work Practitioners, Students, and Field Instructors. Advances in Social Work, 16(2), 260-275.
Kathleen, Cercone. (2008). Characteristics of Adult Learners with Implications for Online Learning Design. AACE Review (formerly AACE Journal), 16(2), 137-159.
Knowles, M. S. (1975). Self-Directed Learning: A Guide for Learners and Teacher. Chicago: Association Press.
Lawrenz, Frances. (1976). Student Perception of the Classroom Learning Environment in Biology, Chemistry and Physics courses. Journal of Research in Science Teaching. 13(4), 315-323.
Marlene, Schommer-Aikins, & Marilyn, Easter. (2018). Cognitive Flexibility, Procrastination, and Need for Closure Linked to Online Self-directed Learning Among Students Taking Online Courses. Journal of Business and Educational Leadership, 8(1), 112 - 123.
Merriam, S. B. (2001). Andragogy and self-directed learning. New Directions for Adult and Continuing Education, 89(1), 3-14.
Michael, Posner, Steve, E. Petersen. (1990). The Attention System of the Human Brain. Annual Review of Neuroscience, 13(1), 25-42.
Moos, R. H., & Moos, B. S. (1978). Classroom social climate and student absences and grades. Journal of Educational Psychology, 70(2), 263–269.
Oddi, L. F. (1987). Perspectives on Self-Directed Learning. Adult Education Quarterly, 38(1), 21–31.
Pao-Nan, Chou. (2012). Effect of Students’ Self-Directed Learning Abilities on Online Learning Outcomes: Two Exploratory Experiments in Electronic Engineering. International Journal of Humanities and Social Science, 2(6), 172-179.
Rogers, C. R. (1969). Freedom to learn. Columbus: Charles E. Merrill Publishing Co.
Rosemary, Kim, Lorne, Olfman, Terry, Ryan, & Evrenม Eryilmaz (2014). Leveraging a personalized system to improve self-directed learning in online educational environments. Computers & Education, 70(2), 150–160.
Susan, T. Fiske, Shelley, E. Taylor. (1991). Social Cognition. New York: McGraw-Hill Series in Social Psychology.
Veronica, McCauley, & George, McCelland. (2004). Further Studies in Self-Directed Learning in Physics at the University of Limerick, Ireland. International Journal of Self-Directed Learning, 1(2). 26-37.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานที่ตีพิมพ์ในวารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอสงวนสิทธิในการเผยแพร่ผลงานที่ตีพิมพ์ในแบบรูปเล่มและทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นใด
บทความหรือข้อความคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนโดยเฉพาะ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ