การสิ้นศรัทธาของคนรุ่นใหม่กับผลต่อกระทบต่อโครงสร้างทางการเมืองและสังคม กรณีศึกษาการเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่ ในประเทศไทยและประเทศจีน

ผู้แต่ง

  • ติณณภพ เตียวเจริญกิจ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ ประเทศไทย
  • รองศาสตราจารย์ ดร.อุนิษา เลิศโตมรสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ ประเทศไทย

คำสำคัญ:

การสิ้นศรัทธาของคนรุ่นใหม่, สาเหตุของการสิ้นศรัทธาของคนรุ่นใหม่

บทคัดย่อ

บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของการสิ้นศรัทธาของคนรุ่นใหม่ในประเทศไทย และประเทศจีน ด้วยการศึกษาเชิงเปรียบเทียบ ตลอดจนวิเคราะห์สาเหตุและปัจจัยเฉพาะตัวของประเทศไทยที่ทำให้เกิดการสิ้นศรัทธาของคนรุ่นใหม่ และการนำไปสู่การเกิดอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับการเมือง โดยใช้วิธีการศึกษาด้วยการค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึง วารสารวิชาการ และวิทยานิพนธ์ โดยใช้แนวคิดและหลักการทางด้านอาชญาวิทยา คือ กลุ่มทฤษฎีโครงสร้างทางสังคม (Social Structure Theories) และทฤษฎีพันธะทางสังคม (Social Bond Theory) ตลอดจนแนวคิดเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ (Social media) และอินฟลูเอนเซอร์ ทั้งนี้ผู้ศึกษาได้นำข้อมูลมาเพื่อวิเคราะห์สาเหตุและปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการสิ้นศรัทธาของคนรุ่นใหม่ในประเทศไทย และประเทศจีน โดยผลการศึกษาพบว่าปัจจัยทั้งสองประเทศมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องการตื่นตัวทางการเมือง ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ และอิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์ ในขณะที่มีความแตกต่างในประเด็นระบอบการปกครอง อย่างไรก็ตาม ปัญหาช่องว่างระหว่างวัย ปัญหาด้านสุขภาพจิต ความเครียด ของคนรุ่นใหม่ ตลอดจนการเลี้ยงดูของครอบครัวสามารถส่งผลกระทบต่อการสิ้นศรัทธาได้ ดังนั้น ภาครัฐจึงต้องมีมาตรการรับมือในเชิงสร้างสรรค์ด้วยการปฏิรูปการศึกษาและเน้นให้คนรุ่นใหม่สร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง

References

กัญชลิตา ตันเจริญ. (2563). พฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์และรูปแบบการนำเสนอข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยวที่มีต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวประเทศไทยโดยการติดตามแฟนเพจ Unseen Tour Thailand. ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, คณะศึกษาศาสตร์, สาขาวิชาการศึกษา.

เทคซอส. (2566). เลิกทำงานหนัก ขอพักดีกว่า รู้จัก ‘ถ่างผิง’ วิถีใหม่ของวัยรุ่นจีน เพราะทำงานแทบตายก็ไม่รวย. สืบค้นจาก https://techsauce.co/news/china-new-tang-ping-trend

บีบีซีไทย. (2563). แฟลชม็อบนักศึกษาถึงชุมนุมใหญ่ของ "คณะราษฎร 2563" ลำดับเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองปี 2563. สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-54741254

พลอยขวัญ วงศ์หนองเตย. (2566). สถิติแต่งงานจีนทรุดต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ในปี 2022 สะท้อนนโยบายกระตุ้นจากภาครัฐอาจไม่ได้ผล. สืบค้นจาก https://thestandard.co/marriages-in-china-drop/

พิมพ์ชนก พุกสุก. (2564). เจาะปรากฏการณ์ ‘Lying Flat’ เมื่อคนรุ่นใหม่ปราศจากความทะยานอยาก กำลังก่อตัวในจีน. สืบค้นจาก https://thestandard.co/lying-flat-in-china/

ภัทราพร ยาร์บะระ. (2565). ‘ความสิ้นหวังของคนรุ่นใหม่’ ความเสี่ยงใหม่ที่โลกไม่ควรมองข้าม. สืบค้นจาก https://thestandard.co/sustain-feature-youth-disillusionmen/

วรรณฉัตร พวยพุ้ง. (2555). ปัญหาและอุปสรรคการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546. ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, คณะศึกษาศาสตร์.

วรัญญา โชติพงศ์. (2559). แนวทางในการสร้างแบบประเมินความเสี่ยงในการปล่อยชั่วคราวก่อนพิจารณาคดีในกลุ่มผู้ต้องหาหรือจำเลยคดี

ยาเสพติด. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, สาขาวิชานโยบายสังคม.

ศุทธิกานต์ มีจั่น. (2564). ม็อบร่ม. สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=ม็อบร่ม

ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน. (2566). กรกฎาคม 2566: จำนวนผู้ถูกดำเนินคดีทางการเมืองยอดรวม 1,918 คนใน 1,230 คดี. สืบค้นจาก https://tlhr2014.com/archives/58047

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (2566). เหนื่อยหน่ายกับอะไรบ้าง ในปี 2566 ที่ผ่านมา. สืบค้นจาก https://nidapoll.nida.ac.th/survey_detail?survey_id=674

สมศรี หาญอนันทสุข. (2565). ข้อสังเกตกรณีการเสียชีวิตของ มาห์ซา อามินี หญิงชาวเคิร์ดในอิหร่าน. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2022/10/100800

สำนักข่าวอินโฟเควสท์. (2566). จีนเผยอัตราการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น เหตุเยาวชนกดดันจากการเรียน. สืบค้นจาก https://www.infoquest.co.th/2023/316267

องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย. (2564). ยูนิเซฟและกรมสุขภาพจิตชี้โควิด-19 ส่งผลให้สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นไทยย่ำแย่อย่างต่อเนื่อง. สืบค้นจาก https://www.unicef.org/thailand/th/press-releases/ยูนิเซฟและกรมสุขภาพจิตชี้โควิด-19

อาร์ม ตั้งนิรันดร. (2566). อัตราการว่างงานของหนุ่มสาวจีน: สะท้อนวิกฤตเศรษฐกิจขาลง. สืบค้นจาก https://www.the101.world/unemployment-rate-in-china-2023/ตัวเลขอัตราการว่างงานของในฤดูกาลจบการศึกษา

Aljazeera. (2015). ‘Islamophobic policy’: French high school goes on strike over abaya ban. Retrieved from https://aje.io/pmze2v

Bennett, W. L., & Segerberg, A. (2012). The Logic of Connective Action: Digital Media and the Personalization of Contentious Politics. Information, Communication & Society, 15(5), 739-768. Retrieved from https://doi.org/10.1080/1369118X.2012.670661

Chen, E. (2021). These Chinese Millennials Are ‘Chilling,’ and Beijing Isn’t Happy. Retrieved from https://www.nytimes.com/2021/07/03/world/asia/china-slackers-tangping.html

Delaney, N. (2021). Harvard Youth Poll finds young Americans are worried about democracy and even fearful of civil war. Retrieved from https://www.hks.harvard.edu/faculty-research/policy-topics/politics/harvard-youth-poll-finds-young-americans-gravely-worried

Durkheim, É. (1897). Suicide: A Study in Sociology. Translated by J. A. Spaulding and G. Simpson. London: Routledge.

Gan, N., & George, S. (2021). Under Xi Jinping, the private life of Chinese citizens isn’t so private anymore. Retrieved from https://edition.cnn.com/2021/09/08/china/china-party-private-life-youth-mic-intl-hnk/index.html

Greek City Times. (2023). Youth Discontentment on the Rise in China. Retrieved from https://greekcitytimes.com/2023/07/05/youth-discontentment-china/

Hirschi, T. (1969). Causes of Delinquency. California: University of California Press.

Merton, R. K. (1938). Social Structure and Anomie. American Sociological Review, 3(5), 672-682. Retrieved from https://doi.org/10.2307/2084686

Sammis, K., Lincoln, C., & Pomponi, S. (2015). Influencer Marketing for Dummies. New York: Wiley.

Shaw, C. R., & McKay, H. D. (1942). Juvenile delinquency and urban areas. Chicago: University of Chicago Press.

Tsoi, G. (2023). Kong Yiji: The memes that lay bare China's youth disillusionment. Retrieved from https://www.bbc.com/news/world-asia-china-65425941

Vincent Ni. (2022). The rise of ‘bai lan’: why China’s frustrated youth are ready to ‘let it rot’. Retrieved from https://www.theguardian.com/world/2022/may/26/the-rise-of-bai-lan-why-chinas-frustrated-youth-are-ready-to-let-it-rot

World Economic Forum. (2021). Global risk report 2021. Geneva: World Economic Forum.

World Economic Forum. (2022). Global risk report 2021. Geneva: World Economic Forum.

Yeo, C. (2023). China’s youth unemployment problem has become a crisis we can no longer ignore. Retrieved from https://theconversation.com/chinas-youth-unemployment-problem-has-become-a-crisis-we-can-no-longer-ignore-213751

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-12-2024

How to Cite

เตียวเจริญกิจ ต., & เลิศโตมรสกุล อ. (2024). การสิ้นศรัทธาของคนรุ่นใหม่กับผลต่อกระทบต่อโครงสร้างทางการเมืองและสังคม กรณีศึกษาการเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่ ในประเทศไทยและประเทศจีน. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และการบริหารสังคม, 32(2), 323–357. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swjournal/article/view/271174