Factors affecting adaptation of persons with physical disabilities: A case study of Bang Chalong Subdistrict, Bang Phli District, Samut Prakan Province, Thailand

Authors

  • ณัฐพงศ์ เป็นลาภ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Keywords:

Adaptation, Persons with physical disabilities

Abstract

This survey study aimed to examine the adaptation, and factors affecting adaptation, of persons with physical disabilities through a case study of Bang Chalong Subdistrict, Bang Phli District, Samut Prakan Province, central Thailand. Samples were 81 persons with physical disabilities with domiciles registered in Bang Chalong Subdistrict. Data were collected by questionnaire and analyzed with descriptive statistics through frequency, percentage, mean, standard deviation (SD), and inferential statistics for multiple linear regression analysis.

              Results were that the overall adaptation of persons with disabilities was at a high level (with an average score of 3.73). The physical, psychological, and environmental adaptation was at a high level (with average scores of 3.83, 3.73, and 3.74). The social adaptation was at a moderate level (with an average score of 3.57). Social support, self-esteem, and family relationship were at a high level (with average scores of 2.69, 18.31, and 3.98). Factors affecting adaptation of persons with physical disabilities were self-esteem and social support with multiple correlation coefficient at .801. These factors predicted adaptation with a predictive value of 64.1 with statistically significant at the 0.01 level.

              These findings suggest that Local administrative organizations should have a career promotion and follow guidelines to encourage people with disabilities to participate in activities, including project arrangement and activities suitable for the disabled, to promote and increase individual potential. Different forms of social support should be stressed to further boost awareness, self-esteem, and supportive care of the disabled by families and the community.

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2562). รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านคนพิการในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2562 จาก www.dep.go.th/Content/View/4232/1

กาญจนา เลิศถาวรธรรม และอรพิน สว่างวัฒนเศรษฐ์. (2556). รายงานการวิจัย การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับพฤติกรรมของคนพิการทางกายและการเคลื่อนไหวในเขตอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. ราชบุรี : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี.

โครงการสุขภาพคนไทย. (2560). เสริมพลังกลุ่มเปราะบาง สร้างสังคมที่ไม่ทอดทิ้งกัน. สุขภาพคนไทย 2560. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

นริสา วงศ์พนารักษ์. (2558). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับคุณภาพชีวิตของคนพิการในเขตเมือง. วารสารพยาบาลทหารบก, 16(3) : 14-22.

ปริษา จันทรวัชร. (2556). การหนุนเสริมของครอบครัวและชุมชนในการปรับตัวของคนพิการ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปิยะพิมพ์ กิติสุธาธรรม. (2554). การยอมรับและการปรับตัวของคนพิการทางการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของครอบครัว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรนภา เจริญสันต์. (2553). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของคนพิการทางกายและการเคลื่อนไหวในจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.

พรพิมล พรแก้ว. (2551). ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของคนพิการทางการเคลื่อนไหว: กรณีศึกษาในคนพิการวัยทำงานที่กำลังเข้ารับการฝึกอาชีพ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล.

พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550. (2550, 27 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 124 ตอนที่ 61 ก. หน้า 8-24.

พิมพ์ภัทร ตันติทวีวัฒน์. (2559). ปัจจัยทำนายการปรับตัวของผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิชุดา ครุธทอง. (2559). ปัจจัยทำนายการปรับตัวของผู้ใหญ่ที่มีภาวะสายตาเลือนราง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. นครปฐม :มหาวิทยาลัยมหิดล.

วิทยา วิสูตรเรืองเดช. (2557). การปรับตัวของคนพิการทางการเคลื่อนไหวที่ได้รับผลกระทบจากอุบัติเหตุ. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุชาดา ธราพร. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างอาการ การสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอเพศชายภาคใต้ขณะได้รับรังสีรักษา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรพิน คำโต. (2557). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการปรับตัวของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยผู้สูงอายุ. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 28(2) : 74-87.

อรรถพล ศรีชิษณุวรานนท์. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปรับตัวของคนพิการบาดเจ็บไขสันหลังในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล.

Derogatis, L. R. (1986). The psychosocial adjustment to illness scale (PAIS). J Psychosom Res, 30(1) :77-91.

Roy, C., & Andrews, H. A. (1999). The Roy adaptation model (2nd ed.) Stamford, CT: Appleton & Lange.

World Health Organization. (2018). Disability. Retrieved January 22, 2019, from https://www.who.int/disabilities/en/

Downloads

Published

2020-12-29

How to Cite

เป็นลาภ ณ. (2020). Factors affecting adaptation of persons with physical disabilities: A case study of Bang Chalong Subdistrict, Bang Phli District, Samut Prakan Province, Thailand. Journal of Social Synergy, 11(3), 1–12. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/thaijss/article/view/244834