มุมมองของนักท่องเที่ยวในด้านการตระหนักรู้และประโยชน์ที่ได้จากการพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคมในด้านการท่องเที่ยวชุมชนที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการท่องเที่ยว
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาระดับการรับรู้ของนักท่องเที่ยวต่อการพัฒนาวิสาหกิจเพื่อสังคมในด้านการท่องเที่ยวชุมชน การตระหนักรู้ ประโยชน์ที่ได้รับจากการท่องเที่ยว ความเชื่อมั่น การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการท่องเที่ยว 2) ศึกษาอิทธิพลของบุพปัจจัยการรับรู้ของนักท่องเที่ยว ด้านการตระหนักรู้ และประโยชน์ที่ได้รับจากการท่องเที่ยวที่ส่งผ่านการรับรู้ของนักท่องเที่ยว ด้านความเชื่อมั่น การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการท่องเที่ยวที่นำไปสู่ความตั้งใจในการท่องเที่ยว
ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ของนักท่องเที่ยวด้านการตระหนักรู้ (AW) มีอิทธิพลรวมต่อความตั้งใจในการท่องเที่ยวสูงสุดคือ 0.886 สูงกว่าประโยชน์ที่ได้รับจากการท่องเที่ยว แสดงว่านักท่องเที่ยวมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักรู้ต่อการรักษาทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนที่มีการจัดการแบบวิสาหกิจเพื่อสังคมอยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยคั่นกลางคือการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการท่องเที่ยว มีอิทธิพลรวมต่อความตั้งใจในการท่องเที่ยวสูงกว่าประมาณ 4 เท่าของปัจจัยด้านความเชื่อมั่น ในส่วนของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของปัจจัย ด้านความเชื่อมั่น การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการท่องเที่ยว และความตั้งใจในการท่องเที่ยวมีค่า 0.599, 0.471 และ 0.844 ตามลำดับ แสดงว่าแหล่งท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมจักต้องมีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้มากขึ้น เพื่อเป็นการยกระดับความตั้งใจในการท่องเที่ยวเพื่อสิ่งแวดล้อม
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Al–Ansi, A. & Han, H. (2019). Role of Halal–Friendly Destination Performances, Value, Satisfaction, and Trust in Generating Destination Image and Loyalty. Journal of Destination Marketing and Management, 13, 51–60.
Blamey, R. K. (2001). Principles of Ecotourism. In Weaver, D. (ed.), the Encyclopedia of Ecotourism. CABI Publishing.
Cronbach, L. J. (1974). Essential of Psychological Testing. Harper & Row.
Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. McGraw–Hill.
Hooper, D., Coughlan, J. & Mullen, R. M. (2008). Structural Equation Modelling: Guidelines for Determining Model Fit. Journal of Business Research Methods, 6(1), 53–60.
Kampetch, P. & Jitpakdee, R. (2017). Success Factors for Management by Community Based Tourism to Sustainable. Proceedings of the 7th STOU National Research Conference, Sukhothai Thammathirat University.
Kokoszka, A. (2014). Stated of Consciousness: Models for Psychology and Psychotherapy. Springer Science Business.
Kosol, O. & Suttawet, C. (2013). Sustainable Tourism Management for Supporting ASEAN Economics Community. Journal of Politics and Governance, 4(1), 221–232.
Kotler, P. & Keller, K. L. (2011). Marketing Management. Prentice Hall.
Lepoutre, J., Justo, R., Terjesen, S. & Bosma, N. (2013). Designing a Global Standardized Methodology for Measuring Social Entrepreneurship Activity: the Global Entrepreneurship Monitor Social Entrepreneurship Study. Small Business Economics, 40(3), 693–714.
Lovelock, C. H. & Wirtz, J. (2011). Services Marketing: People, Technology, Strategy. Prentice Hall.
Morgan, R. M. & Hunt, S. D. (1994). The Commitment–Trust Theory of Relationship Marketing. Journal of Marketing, 58(3), 20–38.
Stryjan, Y. (2006). The Practice of Social Entrepreneurship: Notes toward a Resource Perspective. In Steyaert, C. & Hjorth, D. (Eds.), Entrepreneurship as Social Change: A Third Movements in Entrepreneurship Book. Edward Elgar Publishing.
Weerawardena, J. & Mort, G. S. (2006). Investigating Social Entrepreneurship: A Multidimensional Model. Journal of World Business, 41(1), 21–35.
Zaichkowsky, J. L. (1994). Conceptualizing Involvement. Journal of Advertising, 15(2), 4–14.
Zeithaml, V. A., Bitner, M. J. & Gremler, D. D. (2009). Services Marketing: Integrating Customer Focus across the Firm. McGraw–Hill.
Zhang, H. & Lei, S. L. (2012). A Structural Model of Residents’ Intention to Participate in Ecotourism: the Case of a Wetland Community. Tourism Management, 33(4), 916–925.