การจัดการเส้นทางท่องเที่ยวตามแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในกลุ่มจังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดสระแก้ว

Main Article Content

ธาวัลย์ อัมพวา
อลงกต สุวรรณมณี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเส้นทางการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนในกลุ่มจังหวัดปทุมธานี นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และสระแก้ว อาจจะเป็นแนวทางหรือการนำไปเป็นข้อมูลในการบริหารเชิงนโยบายให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยที่การศึกษาในครั้งนี้ได้มีการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการหาเส้นทางการท่องเที่ยวที่เหมาะสมของกลุ่มจังหวัดปทุมธานี นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และสระแก้ว เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของพื้นที่ดังกล่าวให้มีความยั่งยืนต่อไป


ผลการวิจัยพบว่าเมื่อพิจารณาโดยให้ความสำคัญกับระยะทางในการเดินทางท่องเที่ยวจะได้เส้นทางการท่องเที่ยวที่เหมาะสมของกลุ่มจังหวัดปทุมธานี นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และสระแก้ว ตลอดจนมีการเสนอแนะพื้นที่ที่เหมาะสมในการส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว

Article Details

How to Cite
อัมพวา ธ., & สุวรรณมณี อ. (2023). การจัดการเส้นทางท่องเที่ยวตามแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในกลุ่มจังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดสระแก้ว. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 18(1), 49–60. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/tourismtaat/article/view/253390
บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ธาวัลย์ อัมพวา, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

 

 

อลงกต สุวรรณมณี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

 

 

 

References

Aroonsrimorakot, S. (2020). Excellent Tourism Center for Sustainable Tourism Management in Thailand. Journal of Thai Hospitality and Tourism, 15(1), 95–110.

Emphandhu, D. (2004). Community-Based Ecotourism in Conserved Areas in Sampling in the Big Woods 1: River Basin, Environment, Parks and Recreation. Kasetsart University.

Gössling, S. (2002). Human–Environmental Relations with Tourism. Annals of Tourism Research, 29(2), 539–556.

Junhasobhaga, J. (2010). A Participatory Community Capacity Reinforcement Model for Sustainable Tourism Development in Lower Central, Thailand. Ramkhamhaeng University.

Kaewsuriya, R. (2004). Principles of Sustainable Tourism Development. Tourism Authority of Thailand.

Khopolkhang, N. & Kaewsanga, K. (2021). Capabilities Development of Local Community for Creative Tourism, Chiang Khan, Loei Province. Journal of Thai Hospitality and Tourism, 16(1), 12–25.

Pongwiritthon, R. & Pakvipas, P. (2014). The Suitable Marketing Mix Strategy for Walking Streets in Chiang Mai. Suranaree Journal of Social Science, 8(2), 17–39.

World Tourism Organization (UNWTO). (2009). UNWTO Annual Report 2009. UNWTO.