วิธีการสื่อสารในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอความสำคัญของการติดต่อสื่อสารภายในองค์กร กระบวนการสื่อสาร การสื่อสารในองค์กร 4 ลักษณะ คือ จากบนลงล่าง (Downward Communication) จากล่างขึ้นบน (Upward Communication) การสื่อสารในแนวนอน (Horizontal Communication) และการสื่อสารแบบต่างหน่วยงาน และต่างระดับ(Diagonal Communication) สื่อที่นำมาใช้ในการสื่อสารภายในองค์กร และการสื่อสารในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
กิดานันท์ มลิทอง. (2531). เทคโนโลยีการศึกษาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนวดี บุญลือ. (2557). “ทฤษฎีและแบบจำลองพื้นฐานทางการสื่อสาร”. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร, นนทบุรี สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, หน้า 51
ปรมะ สตะเวทิน. (2527). หลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองการพิมพ์.
พรทิพย์ วรกิจโภคาทร. (2556). “ผู้รับสาร” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รจิตลักขณ์ แสงอุไร. (2557). นิเทศศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์, 2557
ระวีวรรณ ประกอบผล. (2555). องค์ประกอบและกระบวนการของการสื่อสาร. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สวนิต ยมาภัย. (2526). การสื่อสารของมนุษย์. กรุงเทพฯ: 68 การพิมพ์.
เสาวนีย์สิกขาบัณฑิต. (2559). การสื่อสารความหมายเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Agee, Warren K., Ault, Phillip H. And Emery, Edwin. (1976). Introduction to Mass Communication. New York: Row and Harper Publisher, 1976.
Berlo, David K. (1960). The Process of Communication. New York: Holt, Rinehard and Winston, Inc..
Sifband,Norman B. (1969). Communication for Management. Illinois: Scott, Foreman and Company.
Wright, Charles K. (1961). Mass Communication: A Sociological Perspective. Los Angeles: University of Californian Press.
ธนวดี บุญลือ. (2557). “ทฤษฎีและแบบจำลองพื้นฐานทางการสื่อสาร”. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร, นนทบุรี สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, หน้า 51
ปรมะ สตะเวทิน. (2527). หลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองการพิมพ์.
พรทิพย์ วรกิจโภคาทร. (2556). “ผู้รับสาร” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รจิตลักขณ์ แสงอุไร. (2557). นิเทศศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์, 2557
ระวีวรรณ ประกอบผล. (2555). องค์ประกอบและกระบวนการของการสื่อสาร. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สวนิต ยมาภัย. (2526). การสื่อสารของมนุษย์. กรุงเทพฯ: 68 การพิมพ์.
เสาวนีย์สิกขาบัณฑิต. (2559). การสื่อสารความหมายเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Agee, Warren K., Ault, Phillip H. And Emery, Edwin. (1976). Introduction to Mass Communication. New York: Row and Harper Publisher, 1976.
Berlo, David K. (1960). The Process of Communication. New York: Holt, Rinehard and Winston, Inc..
Sifband,Norman B. (1969). Communication for Management. Illinois: Scott, Foreman and Company.
Wright, Charles K. (1961). Mass Communication: A Sociological Perspective. Los Angeles: University of Californian Press.