แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้

Main Article Content

คณาทิพย์ ศรีวะรมย์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอแนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ เนื้อหาประกอบด้วยความหมาย องค์ประกอบสำคัญ ประโยชน์ของการจัดการความรู้ และปัจจัยที่เอื้อให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ. การจัดการความรู้ในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้นั้น จะต้องนำความรู้หรือประสบการณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอกของบุคลากรในโรงเรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร โดยต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆเช่น การค้นหาความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดเก็บความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการทำงานขององค์กรซึ่งจะนำไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ขวัญจิรา ภูครองตา. (2553). การจัดการความรู้ในโรงเรียนห้วยเม็กวิทยายน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จิระพงค์ เรืองกุน. (2557). ชุมชนนักปฏิบัติ: แนวทางการจัดการความรู้เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 7(2), 16-27.
เจษฎา นกน้อย. (2552). นานาทรรศนะการจัดการความรู้และการสร้างองค์การ แห่งการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : ส. เอเชียเพลส.
ชดช้อย วัฒนะ. (2561). การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “พื้นที่ความคิดสร้างสรรค์” ภาคีเครือข่ายการจัดการสุขภาพเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2561. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง การจัดการความรู้ด้วยการถอดบทเรียน. วันที่ 3-4 เมษายน 2561 ณ แซนด์ ดูนส์ เจ้าหลาวบีชรีสอร์ท จันทบุรี.
ประพันธ์ ผาสุกยืด. (2550). การจัดการความรู้ : ฉบับมือใหม่หัดขับ. กรุงเทพฯ : ใยไหม, 21-25.
ประเวศ วะสี. (2550). การจัดการความรู้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ เสรีภาพ และความสุข. กรุงเทพฯ : กรีน-ปัญญาญาณ, 47-48.
พรรณี สวนเพลง. (2552). เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมสำหรับการจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
พวงพรรณ แสงนาโก. (2559). การจัดการความรู้ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอเขาสมิง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา.
วิมล โลมา, มุกดา สำนวนกลาง, ศรีวิภา เลี้ยงพันธุ์สกุล,และฉัตรลดา กาญจนสุทธิ. (2554). การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
สุภาภรณ์ อินทมาตย์. (2552). การจัดการความรู้ในสถานศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2550). การจัดการความรู้. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Baskarada, S., & Koronios, A. (2013). Data, Information, knowledge, wisdom (DIKW): asemiotic Theoretical and empirical exploration of the hierarchy and its quality dimension.
Distanont, A., Haapasalo, H., & Vaananen, M. (2014). Organizing knowledge transfer in Requirements engineering over organizational interfaces. International Journal of Innovation and Learning, 15(1), 41-64.
Epstein, L. D. (2000). Sharing knowledge in organization: How people use media to Communication. Doctoral dissertation, The University of California, Berkley.
Nonaka, I., & Takeuchi, H. (1995). The knowledge-creating company: How Japanese Companies create the dynamics of innovation. Oxford university press.
Nonaka, I., Toyama, R., & Konno, N. (2000). SECI, Ba and Leadership: a Unified Model of Dynamic Knowledge Creation. Long Range Planning, 33(1), 5.