รายงานการพัฒนาการบริหารแบบมีส่วนร่วมแบบ CIDS ที่มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารแบบมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น 2. เพื่อพัฒนาการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้รูปแบบ CIDS ที่มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น 3. เพื่อการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้รูปแบบ CIDS ที่มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น 3.1) เพื่อหาประสิทธิผลของการพัฒนาบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้รูปแบบ CIDS ต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น 3.2) เพื่อหาประสิทธิผลของผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น 4. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีต่อการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้รูปแบบ CIDS ต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น ผู้วิจัยใช้กระบวนการวิจัยโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและวิจัยเชิงปริมาณ
ผลการวิจัยพบว่า
1 ) โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น ไม่มีนำหลักสูตรท้องถิ่นนำมาจัดการเรียนรู้ผู้เรียนไม่สามารถเข้าใจภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ นำไปสู่การหาวิธีการในการแก้ปัญหา
2) ประสิทธิผลการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้รูปแบบ CIDS ที่มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น พบว่าประสิทธิผลโดยรวม อยู่ในระดับมาก 3. การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยใช้รูปแบบ CIDS ต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น
3.1 มีประสิทธิผลของการพัฒนาการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้รูปแบบ CIDS ที่มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น อยู่ในระดับมาก
3.2 มีประสิทธิผลของผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น อยู่ในระดับมาก
- 4. ความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีต่อการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้รูปแบบ CIDS ที่มีประสิทธิผลต่อการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนบ้านบึง-เบาะอุ่น อยู่ในระดับมาก
Article Details
References
วัฒนาพานิช.
กรมวิชาการ. (2545). แนวการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การ
รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
กรมวิชาการ(2546) หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533).พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
-------------. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ(2545) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.),
กิดานันท์ มะลิทอง(2540) เทคโนโลยีทางการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฝ่ายวิชาการ (2551) แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ : ประสานมิตร
ประทับใจ สุวรรณธาดา (2562) หนังสือธุงอีสาน ฉบับปรับปรุง ปี 2562. อุบลราชธานี : ศิริธรรมออฟเซ็ท.
ไพศาล หวังพานิช(2523) การจัดการผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : กรมอาชีวศึกษา,
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ(2540).สถิติวิทยาทางการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น,
เลิศ อานันทนะ(2535) ศิลปะในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : กราฟฟิคอาร์ต,
วิจารณ์ พานิช (2556) ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. กรุงเทพ : เอสอาร์พริ้นติ้งแมส โปรดักส์ จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2551) ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนักงานคณะกรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). แนวทางในการจัดทำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:กระทรวงศึกษาธิการ.