การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ยุค COVID-19

Main Article Content

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


      การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม(DLTV) โดยปกติมุ่งผลด้านขยายโอกาสทางการศึกษาเชิงปริมาณ มีผลส่วนช่วยทำให้นักเรียนในชนบทที่ห่างไกล ในสถานศึกษาที่อยู่พื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร บนเขา บนดอย บนเกาะ ลักษณะต่างกันในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา เป็นลักษณะที่จัดการศึกษาในระบบชั้นเรียน มีโอกาสขยายการดำเนินงานได้ในวงกว้างมากขึ้น สามารถเข้าถึงนักเรียน รวมทั้งประชาชนผู้สนใจใฝ่หาความรู้เพิ่มเติมในจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ในด้านคุณภาพนั้น การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมก็ได้มี มีโอกาสได้รับความรู้ และศึกษาเล่าเรียนเท่าเทียมกับนักเรียนในเมือง รวมทั้งยังส่งเสริมการศึกษา ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) มีการกำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนระบบทางไกล ในสถานการณ์โควิด COVID-19 การเตรียมความพร้อม ได้สำรวจความพร้อมในด้านอุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอน รวมถึงขออนุมัติใช้ช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล จากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมขออนุมัติเผยแพร่การเรียนการสอนจากห้องเรียนต้นทาง ในระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดทำสื่อวีดิทัศน์การสอน โดยครูต้นแบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และรวบรวมสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ใน OBEC Content Center ชุดโปรแกรมและแพลตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ   ซึ่งกำหนดไว้ 5 รูปแบบคือ 1) On Site 2) On Air 3) Online 4) On Demand และ 5) On Hand และมีวิธีการจัดการเรียนการสอนที่มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ ครูผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง หลักสูตร และการประเมินผล

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เอกสารอ้างอิง
การศึกษาทางไกล. สืบค้นเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2563. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 มกราคม 2564).
http://www.gotoknow. org/posts/47334
เกษม สุวรรณกุล. (2555). ระบบการศึกษาทางไกล. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ครูตู้ ครูพระราชทานสองทศวรรษของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 มกราคม
2564). http://hilight.kapook.com/viwe/112544
ชัยวัฒน์ ปานนิล. (2563) แนวทางการจัดการเรียนการสอนของการศึกษาขั้นพื้นฐานในยุค CoVid 19
Educational Disruption (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 มกราคม 2564).
https://prachatai.com/journal/2020/04/87194
ชนกพร ตุ้มทอง (2560). ทำความรู้จักกับ eSports อีกหนึ่งโอกาสสำหรับผู้ประกอบการกระจายเสียงและ
โทรทัศน์. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 มกราคม 2564).
http://broadcast.nbtc.go.th/bcj/2560/doc/2560_06_04.pdf
จตุพร เชยสาคร. (2561). การประเมินโครงการโทรทัศน์ทางไกลผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็กในกลุ่ม
โรงเรียนพงตึก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร
บุญโญรส นาคหัสดี. (2559). สภาพและปัญหาของ e-DLTV โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมของโรงเรียนขนาดเล็ก
ในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร
การศึกษา. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร
มูลนิธิการศึกษาทางไทยผ่านดาวเทียม. (2558). คู่มือพระราชทาน สอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำหรับโรงเรียน
ปลายทาง โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โรงเรียนวังไกลกังวล. กรุงเทพฯ : สยามพริ๊น
มูลนิธิการศึกษาทางไทยผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย
เทคโนโลยีการศึกษาทางไกล. (2561). แนวทางการดำเนินงานการจัดการเรียนการสอนโดย
ใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ให้ได้มาตรฐาน. มูลนิธิการศึกษาทางไทยผ่าน
ดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รัตติการ ปัญญาญาณ. การศึกษาทางไกล. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 มกราคม 2564).
http://www.gotoknow.org/posts/47334
วิวรรธน์ วรรณศิริ. (2558). การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศึกษา. กาญจนบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจบุรี.
ศิริกานต์ จันทรศิริ. (2559). การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ตามแนวคิดวงจร Deming โรงเรียน
ขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. วิทยานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา). ชลบุรี : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
สุพรรณี แจ่มใส. (2561). แนวทางในการส่งเสริมการ e-DLTV มาใช้ในการจัดการศึกษาของผู้บริหาร สถานศึกษาและครู ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุ
ศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา. บุรีรัมย์ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
สุริษา แก้ววิเศษ, รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2564) การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ของ
โรงเรียนยุค COVID-19 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพัทลุง เขต 1 การค้นคว้า
อิสระ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สงขลา : มหาวิทยาลัย
ทักษิณ
สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2553). ประสิทธิภาพการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม
2563. (ออนไลน์), จาก http://www.addkutec3.com/wp-content/sattleline.pdf
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 มกราคม 2564).
https://www.obec.go.th/archives/250059
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ทำ 2 รูปแบบ จัดการเรียนการสอนออนไลน์. ( 25 มกราคม
2564). ไทยโพสต์. (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 มกราคม 2564).
https://www.thaipost.net/main/detail/62751
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2560) (ม.ม.ป.) มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม (DLTV) และมาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT)
ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยี
ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) (ออนไลน์) (อ้างเมื่อ 25 มกราคม 2564).
http://dithailand.com/kar-cadkar-suksa-thong-kil-phan-dawtheiym
Burge, E.J. and Frewin,C.C. (1985). Self-Directed In Distance Learning. In Husen, Torstin. The
International Encyclopedia of Education. New York:Pergamon Press Inc.
Holmberg, B. (1989). Theory and Practice of Distance Learning. London Routledge.
J. M. Kay (1985) Fluid Mechan