การบริหารผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง OKRs และ CFRs สำหรับการสอนในสถานศึกษา

Main Article Content

จิรภาส กีบสันเทียะ

บทคัดย่อ

การบริหารผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องเป็นการนำ OKRs และ CFRs มาใช้ร่วมกันในการบริหารองค์กรให้มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดด ซึ่ง OKRs ประกอบด้วยคือ Objectives เป็นการตั้งวัตถุประสงค์ที่ท้าทายส่วน Results คือผลลัพธ์ที่สำคัญที่เมื่อเราทำสำเร็จจะทำให้เราบรรลุวัตถุประสงค์ที่ท้าทาย โดย OKRs จะถูกขับเคลื่อนด้วย CFRs คือเป็นการสื่อสาร(Conversation) การให้ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback) และการยกย่องชมเชย(Recognition) ระหว่างหัวหน้างานกับพนักงานซึ่งการบริหารผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องจะทำให้พนักงานเกิดแรงจูงใจภายในในการปฏิบัติงาน ส่งผลให้ผลการปฏิบัติงานของพนักงานขององค์กรสูงขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กิตติพัทธ์ จิรวัสวงศ์. (2562). OKRs@Work บริหารผลงานสู่ความเป็นเลิศด้วย OKRs. กรุงเทพฯ: เกรท มีเดีย เอเจนซี.
กิตติพัทธ์ จิรวัสวงศ์. (20 พฤษภาคม 2564). benefit-of-okrs. เข้าถึงได้จาก OKRs Way: https://www.okrsway.com/post/benefit-of-okrs
กิตติพัทธ์ จิรวัสวงศ์. (15 พฤษภาคม 2564). okrs-ecosystem. เข้าถึงได้จาก OKRs Way: https://www.okrsway.com/post/okrs-ecosystem
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2562). คู่มือประยุกต์ใช้ระบบการบริหารผลงาน ด้วยแนวคิดแบบ OKRs. ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.
ดัวร์ จอห์น. (2562). ตั้งเป้าชัด วัดผลได้ด้วย OKRs. (กิตติพัทธ์ จิรวัสวงศ์, ดไนยา ตั้งอุทัยสุข, นำรับพรมธนากร, สุชาดา ปาเตีย, นฤมล ตันติฤทธิ์ศักดิ์, และ วีรินยาอร เหลือบริบูรณ์, ผู้แปล) กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.
รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล. (2562). บทวิจารณ์หนังสือ. วารสารวิจัย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 115.
อังคณา แซ่เจี่ย. (2561). การวัดผลการปฏิบัติงานหอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วย Objective and Key Results (OKRs). กรุงเทพฯ: หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.