แนวทางการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสภาวะวิกฤต

Main Article Content

ลลิดา ธรรมรส

บทคัดย่อ

การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีนับว่าเป็นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน หัวใจสำคัญของการจัดการระบบทวิภาคี คือ ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา กับสถานประกอบการ ในการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพร่วมกันในทุกๆ ด้าน ในปัจจุบันสถานศึกษาที่จัดการศึกษาระบบทวิภาคีได้รับผลกระทบอย่างหนักในสภาวะวิกฤติที่กำลังเกิดขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน ดังนั้นสถานศึกษาจึงต้องมีการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาวะวิกฤต โดยมีแนวทางในการบริหาร ได้แก่ การออกแบบหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและสื่อการสอน และแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี โดยคำนึงถึงความพร้อมของการบริหารจัดสถานศึกษาให้ประสบความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน มีการหารือและวางแผนร่วมกันของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน ตั้งแต่ผู้กำหนดนโยบาย ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางศึกษา สถานประกอบการ ชุมชน  ผู้ปกครอง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจของครูและผู้เรียน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรรัตน์ พิพัฒน์ผล. (2557). องค์ประกอบความสำเร็จของการจัดการอาชีวศึกษาในสถานประกอบการขนาดใหญ่. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กัลยา ตากูล. (2556). การนำเสนอแนวทางความร่วมมือด้านการศึกษาระดับทวิภาคีไทย-เวียดนามเพื่อเสริมสร้างความเป็นประชาคมอาเซียน. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จินตนา รวมชมรัตน์. (2558). รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในวิทยาลัยอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
จุฑาทิพย์ เจริญลาภ. (2559). การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตของ ททท. TAT’s Crisis Management. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. http://www.etatjournal.com/web/menu-read-web-etatjournal/menu-2014/menu-2014-oct-dec/611-42557-asean-crisis (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤษภาคม 2564).
ณัฐวุฒิ ประทุมชาติ. (2556). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับนักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัทภพ แก้วสัมฤทธิ์. (2560). แนวทางการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพื่อยกระดับคุณภาพแรงงานไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. http://www.tnrr.in.th/?page=result_search&record_id=9940422 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 13 พฤษภาคม 2564).
นิรุตต์ บุตรแสนลี. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่มุ่งเน้นประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. มหาวิทยาลัยบูรพา.
บุษบา สุธีธร. (2563). การบริหารการสื่อสารภาวะวิกฤตในโลกที่ผันผวนไม่ชัดเจนซับซ้อนและคลุมเครือ. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
ประภาพรรณ ปรีวรรณ และคณะ. (2559). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุขององค์ประกอบที่ส่งผลต่อการพัฒนาการอาชีวศึกษาระบบทวิภาค. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JournalGradVRU/article/view/64529 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤษภาคม 2564).
ปิยนันท์ พัชรสำราญเดช. (2560). กลยุทธ์การบริหารการศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนตามแนวคิดการเป็นส่วนร่วมของพ่อแม่พี่น้องผู้ปกครองและความต้องการของสถานประกอบการ. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2562). การบริหารจัดการศึกษารับความปกติใหม่หลังวิกฤตโควิด – 19. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/243660 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 13 พฤษภาคม 2564).
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. (2557). การบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. สถานที่พิมพ์: สถานที่พิมพ์.
ลือชัย แก้วสุข. (2554). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการกำลังคนของสถานประกอบการ. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิลาวรรณ คริสต์รักษา. (2554). ผลของโปรแกรมการจัดการภาวะวิกฤติทางจิตใจจากอุทกภัยต่อความรู้และความสามารถในการดูแลตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. วิทยาลัยพยาบาลสงขลานครินทร์.
ศิริพงศ์ รักใหม่และคณะ. (2560). การจัดการภาวะวิกฤตในธุรกิจโรงแรม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. https://dtc.ac.th/research (วันที่สืบค้นข้อมูล : 13 พฤษภาคม 2564).
สุมาลี จุทอง. (2563). การจัดการภัยพิบัติโรคระบาดโควิด 19 ในพื้นที่ชุมชนริมคลองหัวหมากน้อยสำนักงานเขตบางกะปิ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. http://www3.ru.ac.th/mpa-abstract/files/2562_1597737114_6114832048.pdf (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤษภาคม 2564).
สุระชัย ลาพิมพ์,กาญจน์ เรืองมนตรี. (2562). การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีสู่ความเป็นเลิศของวิทยาลัยสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุดรธานี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. https://jeal.snru.ac.th/Files/Article/738-ArticleTextFile-20200328232942.pdf (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤษภาคม 2564).
สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการ.(2556). คู่มือการบริหารความพร้อมในสภาวะวิกฤต. สถานที่พิมพ์: สถานที่พิมพ์.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.(2561). คู่มือการจัดการอาชีวศึกษา. สถานที่พิมพ์: สถานที่พิมพ์.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (2557). แนวปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี. สถานที่พิมพ์: สถานที่พิมพ์.
อภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท์. (2552). กลยุทธ์การบริหารภาวะวิกฤตสำหรับผู้นำองค์กร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. http://www.jba.tbs.tu.ac.th/files/Jba122/Article/JBA122Apisit.pdf (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤษภาคม 2564).
อมราวดี ไชยโย. (2563). การจัดการภาวะวิกฤตของธุรกิจที่พักแรมในประเทศไทยภายใต้วิกฤตการณ์ COVID-19.
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. https://searchlib.utcc.ac.th/bib/310013 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤษภาคม 2564).
อลินดา ทองชุมสิน. (2558). การรับรู้การจัดการภาวะวิกฤตและภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยในมุมมองนักท่องเที่ยว. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อิสรียา ออสุวรรณ. (2559). แนวทางการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนระบบทวิภาคี ในเขตกรุงเทพมหานคร. เป็นวิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัยหรืออะไร. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Amir Abdoli, PhD (2020). Rumors, and the COVID-19 Crisis. Zoonoses Research Center and Department of Parasitology and Mycology, Jahrom University of Medical Sciences, Jahrom, Iran.
Cambridge. (2021). Changes in mental health and help-seeking among young Australian adults during the COVID-19 pandemic: a prospective cohort study. Psychological Medicine 1–9. สถานที่พิมพ์: สถานที่พิมพ์.
Daniel Nohrstedt, Fredrik Bynander, Charles Parker, Paul ‘t Hart. (2018). Managing Crises Collaboratively: Prospects and Problems-A Systematic Literature Review. สถานที่พิมพ์: Uppsala University; †Swedish Defence University; ‡Utrecht University.
David D. Zhang. (2020). Characterizing coinfection in children with COVID-19: A dual center retrospective analysis Infection Control & Hospital Epidemiology (2020), อ้างอิงจาก Journal หรือ แหล่งข้อมูลใด ใส่ให้ชัดเจน 1–3.
Dung Le. (2020). Strategic responses of the hotel sector to COVID-19: Toward a refined pandemic crisis management framework. Hanoi: College of Business and Management, Vin University. College of Business and Management, Vin University, Hanoi, Viet Nam, Hospitality and Tourism Institute, Duy Tan University, Danang, 550000, Viet Nam,Faculty of Social Sciences and Humanities, Duy Tan University, Danang, 550000, Viet Nam.
Hammer CC, Cristea V, Dub T,Sivelä J. (2021). High but slightly declining COVID-19 vaccine acceptance and reasons for vaccine acceptance, Finland April to December 2020. Epidemiology and Infection. ปีที่(ฉบับที่): หน้า-หน้า. 149, e123,1–6.
Jun Zhang. (2021). Recommended psychological crisis intervention response to the 2019 novel coronavirus pneumonia outbreak in China: a model of West China Hospital. สถานที่พิมพ์: Oxford University.
Krittinee Nuttavuthisit. (2016). Vocational Education for sustainable community development: building collaborative efforts in Myanmar and Vietnam. Oxford University Press and Community Development Journal. ปีที่(ฉบับที่): หน้า-หน้า. Medicine1–9.
Sher L. (2021). Dual disorders and suicide during and following the COVID-19 pandemic. Acta Neuropsychiatrica. ปีที่(ฉบับที่): หน้า-หน้า. 33:49–50.
Tai Ming Wut. (2021) Crisis management research (1985–2020) in the hospitality and tourism industry: A review and research agenda. Hong Kong: School of Professional Education and Executive Development, The Hong Kong Polytechnic University. , HKSAR, Hong Kong, China
Wannisa Bumlue. (2019). The European Union Solidarity in relation to Covid-19 situation. สถานที่พิมพ์: Chulalongkorn University.