การพัฒนาความเป็นผู้นำในตัวคุณเพื่อความสำเร็จในการทำงาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ได้เสนอแนวทางในการพัฒนาความเป็นผู้นำในตัวคุณเพื่อความสำเร็จในการทำงาน จากการทบทวนวรรณกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรอบแนวคิดรูปแบบการพัฒนาความเป็นผู้นำในตนเอง จากการศึกษาพบว่าการพัฒนาความเป็นผู้นำในตัวคุณเพื่อความสำเร็จในการทำงานนั้น สามารถแบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ 1) การรู้จักตนเอง โดยการประเมินตนเอง การสำรวจตนเอง ค้นหาสไตล์ของตนเอง และค้นหาจุดเด่น จุดด้อยของตนเอง 2) การเสริมสร้างทักษะ ไม่ว่าจะเป็นทักษะด้านการอ่าน การเขียน การคำนวณ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการเป็นผู้นำ ทักษะการคิดและการรับรู้ ทักษะการทำงานเป็นทีม ทักษะด้านภาษาและการสื่อสาร ทักษะด้านการใช้สื่อและเทคโนโลยี 3) ภาวะผู้นำ โดยการเสริมสร้างความสามารถในการบริหารจัดการเวลา การบริหารความขัดแย้ง ความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง การตัดสินใจ ความยืดหยุ่นในการทำงาน ความสามารถเชิงสร้างสรรค์ ไหวพริบ และสติปัญญา 4) การสร้างมนุษสัมพันธ์ โดยการสร้างบุคลิดภาพที่ดี ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น สร้างเครือข่าย การมีความน่าศรัทธา ยอมรับนับถือ และไว้วางใจ
Article Details
References
กวินธร เสถียร. (2561). Enneagram Made Easy: มองคนด้วยมุมใหม่เปลี่ยนใจให้เป็นสุข. วารสารวิจัย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 11(1), 88-93.
กมลชนก ศรีวงศา วรวุฒิ อินทนนท์ และ ประยูร เทพพิทักษ์ศักดิ์ (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างแบบผู้นําากับการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครพนม. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม , 5(3), 79-88.
คติ โฆษานันตชัย และ ทิพทินนา สมุทรานนท์. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาตนเองของพนักงาน บริษัท นวพลาสติกอุตสาหกรรม จำกัด. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 38(1), 167-179.
คมกริช นันทะโรจพงศ์ และ พิทักษ์ ศิริวงศ์. (2561). การให้ความหมาย ที่มาของความหมาย และกระบวนการเสริมสร้างภาวะผู้นำในตนเอง ของวัยรุ่นกลุ่มเจเนอเรชั่นซี: การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(3), 1-28.
จรุงจิต สมบัติวงศ์. (2561). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา. Journal of Roi Kaensarn Academi, 3(2), 17-32.
จิราภรณ์ พรหมทอง. (2559). การพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้เพื่อเข้าสู่ศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 10(2), 63-72.
ดาวรุวรรณ ถวิลการ. (2558). “ภาวะผู้นำเหนือผู้นำ” แบบภาวะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(2), 23-35.
รุ่งอรุณ หงษ์เวียงจันทร์ สุริยงค์ ชวนขยัน และ สมสรรญก์ วงษ์อยู่น้อย. (2560). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันตก. วารสารสารสนเทศ, 16(1), 125-139.
รักชนก แสงภักดีจิต. (2559). กลวิธีการรับมือกับอุปสรรคในการสื่อสารสำหรับนักศึกษาไทย. วารสาร ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 8(2), 78-103.
วาจาสิทธิ์ ลอเสรีวานิช. (2549). ปั้นคน ให้เก่งคน: ขจัดปัญหาในการสื่อสาร ฝึกจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ และพัฒนาความเป็นผู้นำในตัวคุณ เพื่อความสำเร็จในการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สยามเอ็นเนียแกรม คอนซัลติ้ง จำกัด.
วรรณวิศา สืบนุสรณ์. (2564). เอกสารประกอบการสอน วิชาภาวะผู้นำทางการศึกษา. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิริวรารัตน์ หุนหวล. (2557). พฤติกรรมการสื่อสารและแนวทางการแก้ปัญหาในการทำงานประกันคุณภาพการศึกษาผ่านระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ออนไลน์. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(2), 1025-1037.
สลิลา ธนภัทรศรีกุล และ จุไรรัตน์ สุดรุ่ง. (2560). การวิเคราะห์วิธีการพัฒนาตนเองของครูผู้สอนในสถาบันกวดวิชาในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา (OJED), 12(4), 838 -852.
สนิท สัตโยภาส. (2561). การใช้ทฤษฎีศาสตร์แห่งนพลักษณ์ศึกษาเหตุปัจจัยที่ส่งผลให้บุคคลมีลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน: กรณีศึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย, 9(2), 113-129.
สุกัญญา รุ่งทองใบสุรีย์. (2556). การจัดการความขัดแย้งในชุมชน จังหวัดปทุมธานี. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 39(2), 21-34.
สุวิภาภรณ์ ธีรมิตร การุณย์ ประทุม และกมล เสวตสมบูรณ์. (2565). ปัจจัยความฉลาดที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการทำงานของบุคลากรสำนักงานพาณิชย์จังหวัดในประเทศไทย. Journal of Modern Learning Development, 7(2), 120-134.
สุมินทร เบ้าธรรม และ ดวงฤดี อู๋. (2561). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็ขจในการทำงานของหัวหน้าสำนักงานคณบดีในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(2), 218-233.
เสาวนีย์ กูณะกูง และ ฉัตรทิพย์ สุวรรณชิน. (2558). การสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาในการดำเนินงานโรงเรียนของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาแม่แตง 1 อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(3), 249-259.
อัจศรา ประเสริฐสิน. (2556). การพัฒนาตนเอง สำคัญอย่างไรในชีวิตและการทำงาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 5(10), 73-84.
เอื้องฟ้า เขากลม. (2562). หลักธรรมาภิบาล การจัดการความขัดแย้ง และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 36(2), 102-124.
Baron, R., & Wagele, E. (1994). Enneagram Made Easy. (Online) (Retrieved April 18, 2022). from http://bit.ly/2K9XJyq
Boydell, T. (1985). Management self-development: A guide for managers, organizations and institution. Geneva : International Labour Office.
Gattiker, U.E., & Larwood, L. (1986). Subjective Career Success: A Study of Managers andSupport Personnel. Journal of Business and Psychology, 1(2), 78-94.
Manz, C.C., & Sims, H.P. (2001). The New Superleadership Leading others to Lead Themselves. San Francisco: Berrett –Koehler.
Megginson, D. & Pedler, M. (1992). Self-Development: A Facilitator’s Guide. London: McGraw-Hill, Inc.