ทักษะการบริหารเวลาสู่ความสำเร็จสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอทักษะการบริหารเวลาสู่ความสำเร็จ เป็นการกำหนดและ การควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเวลาและวัตถุประสงค์ที่กำหนด ซึ่งเป็นการใช้เวลาอย่างถูกต้องเป็น ประโยชน์ และช่วยลดความเครียด ทักษะการบริหารเวลาที่สำคัญ ประกอบด้วย การบริหารจัดการตนเอง การบริหารลูกน้อง การบริหารชีวิตส่วนตัว และการบริหารองค์กร ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญและมีความจำเป็นต่อผู้บริหารในยุดิจิทัลที่มีเทคโนโลยอำนวยความสะดวก การบริหารจัดการเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทักษะเหล่านี้ช่วยให้จัดสรรเวลาได้ดี ส่งผลให้ได้งานที่มีคุณภาพสมบูรณ์ที่สุดภายใต้ความจำกัดของเวลาที่มีอยู่ โดยผู้บริหารที่มีการบริหารเวลาที่ดีควรมีแผนการทำงาน กำหนดตารางเวลาในการทำงาน จัดลำดับความสำคัญของงานก่อน-หลัง และควบคุมตนเองให้มีระเบียบวินัย จะนำมาซึ่งการบริหารที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ได้ทั้งประโยชน์ส่วนรวมและประโยชน์ส่วนตน การบริหารเวลาสามารถสรุปเป็นแผนภาพองค์ความรู้ได้
Article Details
References
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2557). บริหารเวลาเพื่อความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย จำกัด.
เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ. (2561). การเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของประเทศไทย เพื่อนำไปสู่ Thailand 4.0วารสารวิชาการ กสทช. 2 (ธันวาคม), 23.42.
ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2546). การเพิ่มมูลค่าเวลา. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
ปราชญา กล้าผจัญ. (2543). 88 ลู่ทางสู่ความสำเร็จของนักบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2544). พุทธวิธีในการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
สถิต กองคำ. (2542). เอกสารคำสอนรายวิชาเทคนิคการบริหารการศึกษา. นครราชสีมา: สถาบันราชภัฏนครราชสีมา.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2560 - 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟค.
สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2553). การบริหารเวลา. กรุงเทพฯ: สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย.
สุทธิชัย ปัญญโรจน์. (2556). การตลาดเชิงสร้างสรรค์. วารสาร TPA News, 119(7), 43-44.
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2553). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : Strategic Human Resource. Development. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
Alec. M. R. (1990). The Time Trap. New York: Amacom.
Drucker, Peter F. (2002). The Discipline of Innovation. Harvard Business Review. August, 95-103.
Jones. K. (1999). Time Management. New York: Amacom.
S. F Smith and C. M Smith. (1990). Personal Health Choices. U.S.A.: Jones and Bartlett Publication.
Scott B. Parry. (1998). Evaluation the impact of Training Alexandria. VA : American. Society for training and Development.
Swanson, R.A. (2001). Human resource development and its underlying theory. Human Resource Development International, 4(3), 299-312.