การพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ เรื่องผลงานของบุคคลสำคัญในการสร้างสรรค์ชาติไทย กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปทุมพิทยาคมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ

Main Article Content

อภิชาติ คำสุข
รัตนะ ปัญญาภา

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


          การศึกษาพัฒนาผลการเรียนรู้ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาผลการเรียนวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องผลงานของบุคคลสำคัญในการสร้างสรรค์ชาติไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนปทุมพิทยาคม ที่สอนโดยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ 2) สร้างความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา ประวัติศาสตร์ไทย เรื่องผลงานของบุคคลสำคัญในการสร้างสรรค์ชาติไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปทุมพิทยาคม ที่สอนโดยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนาการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทย เรื่องผลงานของบุคคลสำคัญในการสร้างสรรค์ชาติไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนปทุมพิทยาคม ที่สอนโดยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ พบว่าผลการเรียนของคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่า ค่าพัฒนาเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 4.87 และ 2) ผลจากการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ไทย เรื่องผลงานของบุคคลสำคัญในการสร้างสรรค์ชาติไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนปทุมพิทยาคม ที่สอนโดยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ อยู่ที่ร้อยละ 86.95


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด.

. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน : ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

นุชนาฏ ธรรมเกษร. (2552). การพัฒนาบทเรียนวีดีทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6. โรงเรียนบ้านปากช่อง (คุรุสามัคคี 1).

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2543). ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ในพระราชพงศาวดารอยุธยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มติชน.

บุญชม ศรีสะอาด (2545) การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวิริยาสาส์น

บุญเที่ยง จุ้ยเจริญ. (2543). โทรทัศน์เพื่อการศึกษา หน่วยที่ 9. เอกสารการสอน สาขาศึกษาศาสตร์.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, (2531). การพัฒนาการคิด. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

พิไลวรรณ ชาวบุญตัน. (2551). การสร้างบทเรียนการแสวงรู้บนเว็บเชิงคิดวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่เกิด เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 4. คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏพระนคร.

ไพไรจน์ ตีรณธนากุล. (2528). ไมโครคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.

เสริมภัทรา นิคมานนท์. (2540), การประเมินผลการเรียน กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์การพิมพ์

เริงชัย พะวุฒ. (2556). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง หมวดหมู่บัญชี รายวิชา บัญชีเบื้องตัน / สำหรับกาจัดการเรียนการสอนทางไกล ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1. วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์. สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 1 สำนักงานคณะกรรมกาส่งเสริมการศึกษาเอกชนกระทรวงศึกษาธิการ

วรพจน์ นวลสกุล. (2551). เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร การตัดต่อวีดิทัศน์ระบบนอนลิเนียร์ รุ่นที่ 9 "การบูรณาการวีดีทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น" ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษาสำนักวิทยาบริการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

วสันต์ อติศัพท์. (2534). นวัตกรรมการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3 ปัตตานี:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

วสันต์ อติศัพท์. (2546). การจัดสภาพแวดล้อมใหม่เพื่อการศึกบาในยุคสังคมสารสนเทศ. โสตฯ-เทคโนฯ สัมพันธ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 18 คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วสันต์ อดิศัพท์และคณะ. (2549). การพัฒนามาตรฐานแห่งชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2(4), 455-482.

วิจิตร ภัคคีรัตน์. (2525). วิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์กับการศึกษา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

วีดิทัศน์. (2559, 28 สิงหาคม). สืบคั้น จาก htps://youtu.be/kv9yAnjljcY.

สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกยา (พิมพ์ครั้งที่ 4) กาพสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

สมบูรณ์ สุริยวงษ์และคณะ. (2540), การวัดและการประเมินผลวิทยาศาสตร์. ม.ป.ท.

สมบูรณ์ ดันยะ. (2545). การประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.