ผลการพัฒนาสมรรถนะการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) เรื่อง กรด-เบส

Main Article Content

อาริยา วิจิตรอมรเลิศ
กัญสพัฒน์ สิทธิบวรโชติ
กิตติวัฒน์ ดิษฐประเสริฐ

บทคัดย่อ

การศึกษาผลการพัฒนาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง กรด-เบส ในงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยใช้การศึกษาแบบกลุ่มเดียวและวัดคะแนนก่อน-หลังการทดลอง มีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนศรัทธาสมุทร จำนวน 29 คน และมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดสมรรถนะการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน มีการวิเคราะห์ข้อมูลค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยสถิติ t-test Dependent sample ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกกาญจน์ บุดดี. (2561). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการ

สืบเสาะหาความรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการ

แก้ปัญหา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. [วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา

หลักสูตรและการนิเทศ]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

(ฉบับปรังปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนแกลางขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์ชุมชน

สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.

(พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ที่ประชุมอธิการบดี. (2566). รายงานค่าสถิติพื้นฐานการสอบ A-Level ประจาปี 2566. ที่ประชุมอธิการบดี

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2566). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565. สถาบันทดสอบทาง

การศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2565). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564. สถาบันทดสอบทาง

การศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2564). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563. สถาบันทดสอบทาง

การศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

หมุนนุ้ย สาอาดะฮ์ และนาสารีย์ น้าเพชร. (2556). การศึกษาผลการใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา

ความรู้ (5E) ร่วมกับ การใช้เกมกระดาน เรื่อง ดาวในระบบสุริยะ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการอธิบาย

ปรากฏการณ์ เชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิชาการและวิจัย

มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 13(3), 1-15.

อับดุลเลาะ อูมาร์. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เรื่องสมดุลเคมี ที่มีต่อ

แบบจาลองทางความคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่

โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล จังหวัดปัตตานี. [วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ

สอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Dolmans, D. H., De Grave, W., Wolfhagen, I. H., & van der Vleuten, C. P. (2005). Problembased

learning: future challenges for educational practice and research. Medical

education, 39(7), 732–741.

Organisation for Economic Co-operation and Development. (2017), PISA 2015 Assessment

and Analytical Framework: Science, Reading, Mathematic, Financial Literacy and

Collaborative Problem Solving, revised edition. Paris: OECD Publishing.

Organisation for Economic Co-operation and Development (2023), PISA 2022 Results

(Volume I): The State of Learning and Equity in Education. Paris: OECD Publishing.

Organisation for Economic Co-operation and Development (2023), PISA 2025 SCIENCE

FRAMEWORK (DRAFT). Paris: OECD Publishing.

Tarhan, L., & Acar-Sesen, B. (2013). Problem Based Learning In Acids And Bases: Learning

Achievements And Students’ Beliefs. Journal of Baltic Science Education, 12(5), 565-

Valdez, J., & Bungihan, M. (2019). Problem-based learning approach enhances the problem

solving skills in chemistry of high school students. Journal of Technology and Science

Education, 9(3), 282-294.