กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของโรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคมสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย
Main Article Content
บทคัดย่อ
วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3)พัฒนากลยุทธ์เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม ผลการวิจัยพบว่า
1) การจัดการศึกษาแบบเรียนรวมพัฒนาในระดับมาก โดยด้านเครื่องมือมีค่าเฉลี่ยสูงสุด สะท้อนถึงความสำคัญของการจัดหาและใช้เครื่องมือที่เหมาะสม สภาพที่พึงประสงค์ทุกด้านอยู่ในระดับสูงสุด โดยเฉพาะด้านการจัดการเรียนการสอน 2) ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษาแบบเรียนรวม ได้แก่ ทรัพยากรบุคคลในระดับสูงสุด รองลงมาคือทรัพยากรทางการเงินและเทคโนโลยี 3)กลยุทธ์ที่พัฒนา ได้แก่ (1)พัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ (2)เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร (3)ยกระดับศักยภาพครูและบุคลากร (4)
พัฒนาและใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน (5)พัฒนาระบบการประเมินสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบเรียนรวม นำไปสู่การกำหนดโครงการ12โครงการ และกิจกรรม 28 กิจกรรม เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). นโยบายการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ. กระทรวงศึกษาธิการ.
ชนิดาภา โสหา. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ญาณวรุตม์ ติระพัฒน์. (2564). การจัดการเรียนรวมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ดารณี อุทัยรัตนกิจ. (2562). การศึกษาแบบเรียนรวมเพื่อความเป็นธรรมในสังคม INCLUSIVE EDUCATION FOR SOCIAL JUSTICA. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
เตือนจิต มูลอินทร์ และ จิระพร ชะโน. (2563). การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารบัณฑิตศึกษา, 17(77), 85-98.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). นโยบายการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ. กระทรวงศึกษาธิการ.
กิจสุพัฒ บังวรรณ. (2566). การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรวมด้วยกิจกรรมเสริมหลักสูตร ห้องเรียนเสมอภาค เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมืองเข้มแข็ง สำหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 9(6), 320-329.
ชนิดาภา โสหา. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ญาณวรุตม์ ติระพัฒน์. (2564). การจัดการเรียนรวมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ดารณี อุทัยรัตนกิจ. (2562). การศึกษาแบบเรียนรวมเพื่อความเป็นธรรมในสังคม INCLUSIVE EDUCATION FOR SOCIAL JUSTICA. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
เตือนจิต มูลอินทร์ และ จิระพร ชะโน. (2563). การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารบัณฑิตศึกษา, 17(77), 85-98.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553). ราชกิจจานุเบกษา.
โรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม. (2566). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) . โรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม.
ศรีปวรรณ สายโสภา. (2566). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ด้วยชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนตะคร้อพิทยา อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 18(2), 125-138.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). รายงานประจำปีการศึกษา 2560. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. (2567). แนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษา. ใน กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาในศูนย์การศึกษาพิเศษและเรียนร่วม, แนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมสำหรับสถานศึกษา. กรุงเทพ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการ.
เสริมทรัพย์ วรปัญญา. (2565). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับโรงเรียนประถมศึกษาในประเทศไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10( 5), 24-36.
M. Armstrong. (2006). A handbook of human resource management practice (10th ed.). Kogan Page.