อิทธิพลของการเคลือบผิวเม็ดปุ๋ยที่ส่งผลต่อลักษณะเฉพาะของปุ๋ยอัดเม็ดควบคุมการปลดปล่อยจากเศษเหลือทิ้งจากการปลูกสับปะรด
คำสำคัญ:
ปุ๋ยควบคุมการปลดปล่อย, เศษเหลือทิ้งจากสับปะรด, เส้นใยจากใบสับปะรด, แป้งจากเหง้าสับปะรด, น้ำยางพาราบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาถึงอิทธิพลของการเคลือบผิวของเม็ดปุ๋ยที่ส่งผลต่อคุณลักษณะทางกายภาพและทางเคมีของปุ๋ยควบคุมการปลดปล่อยที่เตรียมได้ ผลการทดลองพบว่า การเคลือบเม็ดปุ๋ยด้วยสารละลายผสมระหว่างน้ำแป้งและน้ำยางพารา ภาพภายใต้กล้องสเตอริโอ และ SEM แสดงให้เห็นชัดเจนว่าพบว่า ปุ๋ยที่ผ่านการเคลือบเพียงชั้นเดียว พื้นผิวของเม็ดปุ๋ยที่ได้จะเห็นเป็นชั้นบาง ๆ ปกคลุมอยู่ ในขณะที่ปุ๋ยที่ผ่านการเคลือบ 3 ชั้นจะเห็นว่าพื้นผิวมีชั้นฟิล์มของสารเคลือบปกคลุมอยู่บนเม็ดปุ๋ยอย่างชัดเจน จากผลการทดสอบการแช่น้ำ พบว่า เม็ดปุ๋ยหลังเคลือบ 3 ชั้นจะมีความทนน้ำในระยะเวลาต่างๆ ได้มากสูงสุด และมีค่าอัตราการดูดซับน้ำของเม็ดปุ๋ยต่ำที่สุด จากแนวโน้มค่า EC แสดงให้เห็นว่าการเคลือบเม็ดปุ๋ยสามารถช่วยลดอัตราการปลดปล่อยธาตุอาหารที่ละลายในน้ำได้ดีเมื่อเทียบกับปุ๋ยที่ไม่ได้ทำการเคลือบ
References
เจนจิรา กันดี. (2564). การศึกษาปริมาณของเศษเหลือทิ้งสับปะรดต่อคุณลักษณะของปุ๋ยอินทรีย์เคมีและการประยุกต์ใช้ในการปลูกเคล. [โครงการปัญหาพิเศษ ระดับปริญญาตรี]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก.
ฉัตรพงษ์ ผิวนิล. (2564). อิทธิพลของชนิดสารเคลือบจากธรรมชาติต่อคุณลักษณะของปุ๋ยอินทรีย์เคมีควบคุมการปลดปล่อยและการประยุกต์ใช้ในการปลูกเคล. [โครงการปัญหาพิเศษ ระดับปริญญาตรี]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก.
นรินทร์ ตันไพบูลย์. (2564). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2563-2565: อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี. สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/Chemicals/Chemical-Fertilizers/IO/io-chemical-fertilizers-20 สืบค้นวันที่ 25 มีนาคม 2564
นิษฐา คูหะธรรมคุณ และสายันต์ แสงสุวรรณ. (2560) ปุ๋ยควบคุมการปลดปล่อยยูเรียเพื่อการประยุกต์ใช้ทางเกษตรกรรม. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 19(3). 32-44.
อมรพรรณ ทิพมาศ. (2564). การศึกษาปริมาณของยูเรียต่อคุณลักษณะของปุ๋ยเคมีอินทรีย์และการประยุกต์ใช้ปุ๋ยในการปลูกเคล. [โครงการปัญหาพิเศษ ระดับปริญญาตรี]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก.
Braghin S. F. O., Mello S. C., Mendonca J. A. & Minami K. (2019) Controlled-release Fertilizers Improved Croton Growth and Reduced Nitrogen Leaching. HORTSCIENCE. 54(12) 2224-2230.
Lawrencia D., Wong S.K., Low D. Y. S., Goh B. H., Goh J. K., Ruktanonchai U. R., Soottitantawat A., Lee L. H. & Tang S. Y. (2021). Controlled Release Fertilizers: A Review on Coating Materials and Mechanism of Release. Plants. 10 (238). https://doi.org/10.3390/plants10020238
Nallasamy, P.& Mohan, S. (2004). Vibrational spectra of cis-1,4-polyisoprene. The Arabian Journal for Science and Engineering, 29(1A), 17-26. FTIR
Petrus H. T. B. M., Putera A. D. P. P., Wangi I. P., Ramadhian M. A., Setiawan H. & Prasetya A. (2020). Characterization of Nitrogen Release in Modified Controlled-Release-Fertilizer using Rice Husk Biochar. International Journal of Technology., 11(4) 774-783.
Wang J., Liu S., Qin Y., Chen X., Xing R., Yu H., Li K. & Li P. (2017). Preparation and characterization of controlled-release fertilizers coated with marine polysaccharide derivatives. Chinese Journal of Oceanology and Limnology. https://dx.doi.org/10.1007/s00343-017-6074-9

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการปรับปรุงแก้ไขตัวอักษรและค่าสะกดต่าง ๆ ที่ไม่ถูกต้อง และต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเทคโนโลยีและนวัตกรรม ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และผลการพิจารณาคัดเลือกบทความตีพิมพ์ในวารสารให้ถือเป็นมติของกองบรรณาธิการเป็นที่สิ้นสุด