สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน:เตรียมพลเมืองเพื่อสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่อย่างมีส่วนร่วมผ่านหลักสูตรวิชาสังคมศึกษาเชิงพื้นที่
คำสำคัญ:
วิชาสังคมศึกษา, หลักสูตรเชิงพื้นที่, การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนบทคัดย่อ
วิชาสังคมศึกษาเป็นวิชาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีเป้าหมายหลักอยู่ที่การส่งเสริมสมรรถนะความเป็นพลเมืองเพื่อให้เยาวชนพัฒนาความสามารถที่จะตัดสินใจบนพื้นฐานข้อมูลความรู้ และการใช้เหตุผลเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม ในฐานะพลเมืองดีของสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความเป็นประชาธิปไตยในโลกเสรี วิชาสังคมศึกษาจึงเชื่อมั่นในความเป็นมนุษย์และการอยู่รวมกันภายใต้กระบวนการทางสังคม การพัฒนาความเป็นพลเมืองจึงเป็นหัวใจของการพัฒนาสังคม เมื่อสังคมใดก็ตามมุ่งมั่นที่จะพัฒนาสังคมให้ก้าวสู่ความยั่งยืน การมองไปที่หน่วยย่อยที่สุดในสังคมคือ “มนุษย์” กับ “ชุมชน” ที่เขาปฏิสัมพันธ์ ดังนั้นในการพัฒนาสังคมท้องถิ่นให้ก้าวสู่ความยั่งยืน วิชาสังคมศึกษาจะต้องเข้ามามีบทบาทในการสร้างพื้นที่การเรียนรู้ให้กับชุมชนผสานระหว่างผู้เรียนที่เป็นอนาคตใหม่กับผู้คนที่เติบโตผ่านอดีตเก่าเชื่อมร้อยสู่การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ของพลเมือง เพื่อสร้างสรรค์และนำพาสังคมสู่อนาคตที่ยั่งยืน
References
2. นันท์นภัส รัตนศิลป์ชัย. (2553). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น. เชียงใหม่: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
3. พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2555). การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : พื้นฐานการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4. เฟรเร, เปาโล. (2559). การศึกษาของผู้ถูกกดขี่. แปลจาก Pedagogy of the oppressed โดย ภาคิน นิมมานนรวงศ์, นลัท ตั้งพรพิพัฒน์ และ วิจักขณ์ พานิช.กรุงเทพฯ: ปลากระโดด.
5. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย จำกัด.
6. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย จำกัด.
7. สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และคณะ. (2557). คำและแนวคิด ในประชาธิปไตยสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: มูลนิธิฟรีดริด เอแบร์ท.
8. อุดม เชยกีวงศ์. (2545). หลักสูตรท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ การปฏิรูปการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: กรุงธนพัฒนา.
9. อภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล. (2559). การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองสู่การสร้างเมืองน่าอยู่อย่างมีส่วนร่วมผ่านหลักสูตรท้องถิ่น: เรื่องเล่าจากพื้นที่ คลองหกวา จังหวัดปทุมธานี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ihrp.mahidol.ac.th/download/Journal22/Vol.2.2%20198-219.pdf สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2561.
10. Barash, David. (2002). Peace and Conflict. Thousand Oaks, California: Sage Publications.
11. Cynthia Szymanski Sunal and Mary Elizabeth Haas. (2007). Social Studies for the Elementary and Middle Grades : A Constructivist Approach. Boston: Pearson/ Allyn& Bacon
12. EARTH CHARTER INTERNATIONAL.(2000). The Earth Charter. [Online] Available: http://earthcharter.org/discover/the-earth-charter/ Retrieved November 30, 2016.
13. National Council for the Social Studies. (1992). National Curriculum Standards for Social Studies: Executive Summary. [Online] Available: http://www.socialstudies.org/standards/Execsummary. Retrieved November 29, 2016.
14. Susan A. Ambrose and Others.(2013). How Learning Works: Seven Research-Based Principles for Smart Teaching. San Francisco: Jossey – Bass.
15. The Japan Council on the UN Decade of Education for Sustainable Development (2014). United Nations Decade of Education for Sustainable Development (2005-2014) Japan Report. [Online] Available: http://www.cas.go.jp/jp/seisaku/kokuren/pdf/report_h261009_e.pdf. Retrieved November 29, 2016.
16. UNESCO.(2009). Education for Sustainable Development. [Online] Available: http://www.unescobkk.org/education/education-for-sustainable-development/esd-home/esd-in- thai/. Retrieved November 27, 2016.
17. Mark Gerzon. (2010). Global Citizen: How our vision of the world is outdated, and what we can do about it. Boulder, Co :Spirt Scope.
18. Westheimer, J. (2015). What Kind of Citizen? Education Our Children for the Common Good. New York: Columbia University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง