คุณูปการของการพัฒนาทางจิตวิญญาณต่อคฤหัสถ์อาเซียนในศตวรรษที่ 21
คำสำคัญ:
คุณูปการ, การพัฒนาจิตวิญญาณ, คฤหัสถ์อาเซียน, ศตวรรษที่ 21บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอคุณูปการของการพัฒนาทางจิตวิญญาณต่อการใช้ชีวิตของคฤหัสถ์อาเซียนในศตวรรษที่ 21 จากการศึกษาพบว่าเป้าหมายของการพัฒนาทางจิตวิญญาณคือ การมีสุขภาวะทางจิตวิญญาณที่ยาวนานตลอดไป การมีสุขภาวะทางจิตวิญญาณเป็นสิ่งสำคัญของการดำรงอยู่ของสรรพสัตว์ เพราะจิตวิญญาณไม่ได้แค่ทำให้ “มีชีวิต” ตามยถากรรมเท่านั้น แต่ยังมีผลโดยตรงต่อการ “ใช้ชีวิต” ที่เหลืออยู่อย่างมีคุณค่า ดังนั้น มนุษย์โลกจึงต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับคุณูปการของการพัฒนาทางจิตวิญญาณเพื่อให้ชีวิตดำรงมีเป้าหมายชัดเจน โดยเฉพาะคฤหัสถ์ในภูมิภาคอาเซียนที่คุ้นเคยกับการปฏิบัติธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา เมื่อตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการพัฒนาทางจิตวิญญาณแล้ว คฤหัสถ์อาเซียนก็จะสามารถกำหนดทิศทางของจิตวิญญาณตนเองได้และสร้างแรงจูงใจให้กับคนอื่นๆ ได้ด้วยเช่นกัน
References
โครงการสุขภาพคนไทย. (2558). 10 ประเทศอาเซียน ความหลากหลายที่รวมเป็นหนึ่ง. นครปฐม:สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ดุษฎี โยเหลา และคณะ. (2555). ประสบการณ์ของการเป็นครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู: การศึกษาเชิงปรากฏการณวิทยา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 8(1), 55-65.
ทัศนีย์ แสงประทีป. (2552). จิตวิญญาณ: มิติหนึ่งของการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปกรณ์ สิงห์สุริยา และคณะ. (2552). รายงานการสังเคราะห์ความรู้ทางด้านการพัฒนาจิตปัญญา (วิญญาณ) จากเรื่องเล่าความสำเร็จของผู้ให้บริการและผู้รับบริการในระบบสุขภาพ: กรอบแนวคิดเรื่องสุขภาวะด้านจิตวิญญาณ. กรุงเทพมหานคร: แผนพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพของมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล. (2554). สุขภาพในมิติทางจิตวิญญาณหรือปัญญา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://docs.wixstatic.com/ugd/bdfbef_a0de5cd824134160b47a551a84edf888.pdf สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2562.
ประเวศ วะสี. (2544). คุยกับผู้อ่าน. 23(268). กรุงเทพฯ: นิตยสารหมอชาวบ้าน.
พระครูพิจิตรศุภการ และคณะ. (2553). ธรรมะภาคปฏิบัติ 4 (Buddhist Meditation IV). พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเดชขจร ขนฺติธโร และคณะ. ความเท่าเทียมกันของการเผยแผ่หลักเบญจศีล-เบญจธรรมในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. วารสารวิชาการพระพุทธศาสนาเขตลุ่มแม่น้ำโขง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, 6(5), 64-72.
พัชนี สมกำลัง และยุทธชัย ไชยสิทธิ์. แนวคิดความเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ: การประยุกต์ใช้ในวิชาชีพการพยาบาล. วารสารสภาการพยาบาล, 27(4), 16-25.
เพ็ญศรี วัฒยากร วิมลรัตน์ จงเจริญ และ ประภาพร ชูกำเนิด. (2559). ความผาสุกทางจิตวิญญาณและจิตวิญญาณในการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไป ภาคใต้. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 27(3), 115-126.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วัลภา คุณทรงเกียรติ. (2547). สุขภาพจิตวิญญาณของคนไทย. วิทยานิพนธ์ พย.ด. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2558). ไทยกับการเป็นศูนย์กลางของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรินทร์ พิศสุวรรณ. (2555). อาเซียน รู้ไว้ ได้เปรียบแน่. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ปริ้นติ้ง.
Gomez, R., & Fisher, J. W. (2005). The Spiritual Well-being Questionnaire: Testing for Model Applicability, Measurement and Structural Equivalencies, and Latent Mean Differences across Gender. Personality and Individual Differences, 39(1), 1383-1393.
Pinit Ratanakul. Health, Healing and Religion. (1996). Bangkok: The Center of Human Resources Development, Mahidol University.
R. Shackleton. (1972). The Greatest Happiness of the Greatest Number: The History of Bentham’s Phrase. Virginia: Studies on Voltaire and the Eighteenth Century 90.
Stoll, R. I. (1989). Spiritual Dimension of Nursing Practice. Philadelphia: W.B.Saunders.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง