การใช้สื่อสังคมออนไลน์กับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในยุคไทยแลนด์ 4.0

ผู้แต่ง

  • อุทัย ยะรี
  • มัณฑนา สีเขียว

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ, การดูแลสุขภาพ, ไทยแลนด์ 4.0, สื่อสังคมออนไลน์

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสถานการณ์การใช้สื่อสังคมออนไลน์กับการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุในยุคไทยแลนด์ 4.0 โดยมุ่งเน้นเป้าหมายที่สำคัญ 2 ประการคือ 1) การดูแลสุขภาพ และ 2) ความเป็นอยู่ที่ดี ซึ่งจากการศึกษาพบว่าการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในปัจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ตลอดจนหน่วยงานชุมชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการดูแลสุขภาพและช่วยยกระดับความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุและผู้ดูแลได้เพิ่มมากขึ้น โดยแนวทางการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในอนาคตหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้และเข้าถึงการใช้สื่อสังคมออนไลน์ได้อย่างสะดวกและทั่วถึงทุกภูมิภาคของประเทศ

References

1. กฤษณาพร ทิพย์กาญจนเรขา, ศิริธร ยิ่งเรงเริง, จันทิมา เขียวแก้ว, และคณะ. (2560). พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลสุขภาพจากสื่อออนไลน์ และสื่อสังคมของผู้สูงอายุตามลำดับการรับรู้ภาวะสุขภาพ. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 11(1): 12-22.

2. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2561). รายงานสถานการณ์ทางสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปี 2561. กรุงเทพมหานคร.

3. ทีมข่าวเศรษฐกิจ. (2559). ระเบิดเวลาสังคมผู้สูงอายุกระทุ้งรัฐจัดเป็นวาระแห่งชาติ. ฐานเศรษกิจ, [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thansettakij.com/content/24454 สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2561.

4. เทคโนโลยีเว็บไซต์. (2562). Web 3.0 Web 4.0, [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com//a/bumail.net/technoloyi-websit/web-3-0-web-4-0 สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562.

5. นลินี ศรีวิลาศ และปริญญา หรุ่นโพธิ์. (2560). พฤติกรรมการเข้าถึงและการใช้งานอินเทอร์เน็ตของกลุ่มผู้สูงอายุอำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี, [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/123456789/808/rmutrconth_161.pdf สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2562.

6. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพฯ: นามมีบุ๊คส์.

7. มติชนออนไลน์. (2560). วิถีใหม่ผู้สูงอายุ ยุค 4.0 ส่งความสุขแบบออนไลน์เชื่อมสัมพันธ์ในครอบครัว, [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.matichon.co.th/lifestyle/news_517489 สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2562.

8. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2561). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.

9. สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2557). นิยาม: สังคมผู้สูงอายุ, [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom12/05-01.html. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2561.

10. สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2561). โครงสร้างด้านประชากรของประเทศไทยเข้าสู่การเป็น “สังคมสูงวัย” (Aged society), [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nso.go.th/sites/2014 สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2561.

11. สยามรัฐออนไลน์. (2560). "เปิดมุมมอง" / สูงวัยไทยแลนด์...อยู่อย่างไรในยุค4.0, [ออนไลน์]. https://siamrath.co.th/n/21850 สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2562.

12. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2562). รายงานผลการสำรวจพฤตกิรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

13. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). รายงานประจำปี 2556. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

14. บุญยิ่ง คงอาชาภัทร. (2561). วิจัยการตลาดกับกลุ่มผู้สูงอายุ 55-70 ปี. นครปฐม: สาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.

15. Arthur, W.B. (1988). Competing Technologies: An overview, Technical change and economic theory. London: Pinter publishers.

16. Jostsons, F. (2018). Social Media Landscape 2017. [Online] Available: http://thinkspace.csu.edu.au/networkedlearning/2018/01/18/social-media-landscape-2017/ Retrieved June 30, 2018.

17. Nimrod, G. (2010). Seniors' online communities: a quantitative content analysis. Gerontologist, 50 (3). 382-392.

18. Thumbsupteam. (2013). To monitor an elderly’s lifestyle of the social media’s usage which is more interested as well as the teen’s usage. [Online] Available: https://thumbsup.in.th/2013/02/seniors-boomers-internet-usage/Retrieved June 30, 2018.

19. Tipkanjanaraykha, K., & et al. (2017). Health information seeking behaviors of elderly through online media Accordingto perceivedhealth status. Journal of Health science research. 11,12-22.

20. World Health Organization [WHO]. (2002). Proposed working definition of an older person in Africa for the MDS Project. [Online] Available: http://www.who.int/healthinfo/survey/ageingdefnolder/en/ Retrieved June 25, 2018.

21. โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.instagram.com/siphhospital/?hl=th สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2561.

22. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.facebook.com/thaihealth สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2561.

23. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย 2543-2573. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

24. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.instagram.com/nhso.official สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2561.

25. เอลเดอร์ แคร์ เซ็นเตอร์. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://th-th.facebook.com/pg/fgdhealthcare สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2561.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-06-2019