การพัฒนาหลักสูตรส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาไทย ตามหลักการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
คำสำคัญ:
การพัฒนาหลักสูตร, การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน, ทักษะการอ่านภาษาไทยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อพัฒนาหลักสูตรและศึกษาผลการทดลองใช้หลักสูตรส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาไทย ตามหลักการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสบป้าดวิทยาจำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ หลักสูตรส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาไทยตามหลักการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และแบบทดสอบวัดทักษะการอ่านภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นแบบทดสอบการอ่านออกเสียงและอ่านรู้เรื่อง วิเคราะห์ข้อมูลโดย 1) ประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาไทยตามหลักการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2) ประเมินความเหมาะสมของเอกสารประกอบหลักสูตรส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาไทยตามหลักการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 3) ประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรส่งเสริมความสามารถการอ่านภาษาไทยตามหลักการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ผลการวิจัยพบว่า ผลการสร้างหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากและมากที่สุดตามลำดับ และนักเรียนมีคะแนนทักษะการอ่านภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551.กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด .
งานวิชาการ. (2561). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report:Sar) ปีการศึกษา 2561: โรงเรียนสบป้าดวิทยา.
จุไรรัตน์ พงศาภิชาติ. (2553). เคลื่อนโรดแมปแก้วิกฤติ ป.1 อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คำนวณไม่เป็น. กรุงเทพฯ: ศูนย์ข่าวสารนโยบายสาธารณะ.
ณีรนุช เบาวันดี. (2552). ผลการเรียนรู้ภาษาไทยเรื่องการอ่านและการเขียนคำยากสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วยแบบฝึกทักษะประกอบการจัดกิจกรรมตามแนวคิดโดยใช้สมองเป็นฐาน. การศึกษาค้นคว้าอิสระ. กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปราณี อ่อนศรี. (2552). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ที่ใช้สมอง
เป็นฐานของนักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พรพิไล เลิศวิชา. (2558). การพลิกโฉมโรงเรียน ป.1 อ่านออก เขียนได้ ใน 1 ปี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
รัตนะ บัวสนธ์. (2535). การพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนเพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นกรณีศึกษาชุมชนแห่งหนึ่งในภาคเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2535). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการสอนภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สุวรินาสาส์น.
วิทยากร เชียงกูล. (2548). เรียนลึก รู้ไว ใช้สมองอย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิช ชิ่ง.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2553). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design. พิมพ์ครั้งที่ 3. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สงัด อุทรานันท์. (2532). พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สายันห์ ผาน้อย และคณะ. (2543). การสอนภาษาไทยให้อ่านออกเขียนได้โดยวิธีแจกลูกสะกดคำ. นนทบุรี: ซี.ซี.นอลลิดลิงคส์
สุภาพ รัดสีสม. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาไทยดานการอานและการเขียนคํายากชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ดวยการจัดกิจกรรมตามแนวคิดโดยใชสมองเปนฐาน. การศึกษาคนควาอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุมิตร คุณานุกร. (2518). หลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. สำนักข่าวแห่งชาติกรมประชาสัมพันธ์. (2556). การอ่านไม่ออก-เขียนไม่ได้. กรุงเทพฯ: กรมประชาสัมพันธ์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. Jensen, Eric. (2000). Brain – Based Learning. San Diego, CA: The Brain Store Publishing.
Saylor J. Galen; & William M. Alexander. (1974). Planning Curriculum for Schools. NewYork: Holt,Pine hart and Winstion.
Taba, Hilda. (1962). Curriculum Development: Theory and Practice. New York, NY: Harcourt, Brace & World.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง