ปัจจัยในการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของพลเมืองยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
การตัดสินใจซื้อ, ธุรกิจออนไลน์, พลเมืองยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นพลเมืองยุคดิจิทัลและปัจจัยด้านระบบนิเวศน์ทางเทคโนโลยีของพลเมืองยุคดิจิทัล ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ โดยใช้แบบสอบถามและเก็บข้อมูลโดยวิธีออนไลน์จากประชากรในพื้นที่กรุงเทพมหานครปริมณฑลและต่างจังหวัดอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 1,108 ตัวอย่าง โดยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบโควตา (Quota Selection Sample) แบ่งตามภูมิภาคต่าง ๆ เท่า ๆ กัน ใช้สถิติ Regression เพื่อการทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ยังไม่สอดคล้องกับการเป็นพลเมืองดิจิทัล โดยปัจจัยด้านอายุและอาชีพที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจทำธุรกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ขายสินค้าออนไลน์ มีโอกาสในการเข้าถึงและมีศักยภาพใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่แตกต่างกัน ไม่ควรเลือกปฏิบัติและดูหมิ่นผู้ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีหากแต่จะต้องช่วยกันเสริมสร้างการเข้าถึงเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น
References
ฐิติกร พูลภัทรชีวิน. (2533). ทำไมต้อง..เศรษฐกิจสร้างสรรค์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/gaiusjustthink/thitikorn-on-design?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1 สืบค้นเมื่อ 4 กรกฏาคม 2561.
วิโรจน์ ภู่บึงพร้าว. (2555). การตัดสินใจซื้อสินค้ทางอินเตอร์เน็ตของนักศึกษาในกรงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วอนชนก ไชยสุนทร. (2558). การยอมรับการใช้งานของระบบการชำระเงินแบบอิเล็คทรอนิกส์ในประเทศไทย. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการบริหารและจัดการสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
อาภาภรณ์ วัธนกุล. (2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยอดนิยมของประเทศไทย. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Bicknell, K. (2015). “The Technology Ecosystem,” [Online]. Available: https://www.baka.ca/blog/The-Technology-Ecosystem Retrieved May 2, 2018.
Cong Yin, and Lidan Shi. (2015). An empirical study on users’ online payment behavior of tourism website. In Proc. e-Business Engineering (ICEBE). 2015 IEEE 12th International Conference (pp. 214-219). Beijing: China
Kotler, P. & Keller, K. L. (2009). Marketing Mangement. UK.: Pearson Education International.
Lin Fengyi, Fofanah Seedy S. and Liang Deron. (2011). Assessing citizen adoption of e-Government initiatives in Gambia: A validation of the technology acceptance model in information systems success. Government Information Quarterly, 28, 271–279
Noono Stephen. (2014). “Digital Citizenship in the Real World,” [Online]. Available: https://thejournal.com/articles/2014/05/07/digital-citizenship-in-the-real-world.aspx Retrieved January May,31 2018.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง