ปัจจัยต้นเหตุ พฤติกรรมเสี่ยง และแรงจูงใจที่ส่งผลให้เกิดการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ของประชากรในเขตภาคเหนือตอนบน
คำสำคัญ:
พฤติกรรมเสี่ยง, แรงจูงใจ, เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยต้นเหตุ และพฤติกรรมเสี่ยงที่ส่งผลทางตรงต่อการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ของประชากรในเขตภาคเหนือตอนบน 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของแรงจูงใจในการดื่มที่ส่งผลต่อการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ และ 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยต้นเหตุ พฤติกรรมเสี่ยง ที่ส่งผลทางอ้อมต่อการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ของประชากรในเขตภาคเหนือตอนบน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรไทยผู้ดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ในเขตภาคเหนือตอนบน จำนวน 3,200 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละและการวิเคราะห์เส้นทาง
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยต้นเหตุที่ส่งผลต่อการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์คือ ปัจจัยด้านวัฒนธรรม/ประเพณี และปัจจัยด้านพฤติกรรมการดื่มของบุคคลในครอบครัว มีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมเชิงบวกที่ทำให้เกิดการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ และด้านแรงจูงใจภายนอกมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกที่ทำให้เกิดการดื่มเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ โดยผลการวิเคราะห์โมเดล พบว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 = 8.558, df= 4, Cmin/df= 2.139, p-value= 0.073; NFI= .999; RFI= .993; CFI= 1.000; RMSEA=0.019) แสดงว่าโมเดลมีความเหมาะสมกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี
References
กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ. (2554). การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง. เอกสารการวิจัยทางการพยาบาล: แนวคิด หลักการ และวิธีปฏิบัติ, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา http://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554/เอกสารเพิ่มเติม/การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.PDF, เข้าดูเมื่อวันที่ 9/10/2561.
กัลยา วิริยะ, ประภาพร ชูกำแหนิด, และ อังศุมา อภิชาโต. (2562). ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับบุหรี่กับพฤติกรรมการสัมผัสบุหรี่ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, วารสารวิทยบริการม หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 30, มกราคม – เมษายน 2562, หน้า 66 – 74.
ไชยวัฒน์ ไชพาทรัพย์, สุรเจต ไชยพันธ์พงษ์, อรทัย ปานคำ และอิศรา กองคำ. (2562). พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา, วารสิรินธรปริทรรศน์. 20, มกราคม – มิถุนายน 2562, หน้า 76 – 83.
ฑิฆัมพร หอสิริ, ชุลีกร สิทธิสันต์, และกนกวรรณ ลิ้มศรีเจริญ. (2559). ความชุกของพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา, วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 61, มกราคม – มีนาคม 2559, หน้า 3 – 14.
ณัฐธิดา จุมปา, เพ็ญพักตร์ ไชยนุรักษ์ และอัศวิน จุมปา. (2560). การศึกษาบริบทและแบบแผนการดื่มสุราของแรงงานข้ามชาติขาวพม่าในพื้นที่จังหวัดเชียงราย, วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 10, พฤษภาคม – สิงหาคม 2560, หน้า 133 – 149.
ดุรณี คุณวัฒนา และศรีวรรณ ยอดนิล. (2554). พฤติกรรมการดื่มสุราของสตรีในเขตอำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ปี 2554, วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม, 7, พฤศจิกายน 2553 – เมษายน 2554, หน้า 42 – 57.
เผ่าไทย สินอำพล. (2560). “พื้นที่และเวลา” ในการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาหญิงในมหาวิทยาลัยจังหวัดเชียงใหม่, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พงษ์ศักดิ์ อ้นมอย. (2554). การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ครั้งแรกและการดื่มแบบเมาหัวราน้ำของเยาวชน อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์, วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 41, กันยายน – ธันวาคม 2554, หน้า 250 – 261.
พัชรพรรณ คูหา. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาหญิงในมหาวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ คณะสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พิมพ์พิสาข์ จอมศรี, อภินันท์ อร่ามรัตน์, เพ็ญประภา ศิวิโรจน์ และสำราญ กันทวี. (2560). ความชุกการใช้สารเสพติด และความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สารเสพติดกับพฤติกรรมแสวงหาความตื่นเต้นเร้าใจของนักศึกษาอาชีวศึกษา. พยาบาลสาร, 44, เมษายน – มิถุนายน 2560, หน้า 172 – 181.
ภัคจิรา ภูสมศรี. (2557). แรงจูงใจและกลวิธีเชิงพฤติกรรมการป้องกันต่อการดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ คณะสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วัลลภา กุณฑียะ. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในนักเรียนอาชีวศึกษาชาย จังหวัดชัยนาท. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. (2561). สุราสร้างภาระอะไรให้กับสังคมไทย, [ระบบออนไลน], แหล่งที่มา https://dol-uat.thaihealth.or.th/Media/Index/151357c9-e942-e811-80df-00155dddb750?ReportReason=0, เข้าดูเมื่อวันที่ 9/10/2561.
สมพร รุ่งเรืองกลกิจ, อิงคฏา โคตนารา และศิริพร จิรวัฒน์กุล. (2555). เรื่มดื่มสุราเป็นเรื่องง่าย...แต่แสนลำบากในการเลิกสุรา, วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 35, เมษายน – มิถุนายน 2555, หน้า 1 – 14.
สุธาทิพย์ กลีบบัว, บัญญัติ ยงย่วน และพัชรินทร์ เสรี. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบกับการควบคุมตนเองของเยาวชนที่กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติ, วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 30, มกราคม – เมษายน 2562, หน้า 189 – 199.
สุพัตรา สกุลศรีประเสริญ และไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2561). แรงจูงใจในการดื่มกับปัญหาจากการดื่มสุราในนักศึกษา: การพัฒนาแบบจำลองและตรวจสอบความไม่แปรเปลี่ยนของแบบจำลองระหว่างเพศ, วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์, 19, กรกฎาคม – ธันวาคม 2561, หน้า 153 – 166.
สุรเมศวร์ ฮาชิม, รัตนา เลิศสุวรรณศรี และรมิดา ศรีเหรา. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย จังหวัดปทุมธานี, Thai Journal of Science and Technology, 6, มกราคม – เมษายน 2560, หน้า 1-10.
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (2557). รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์สงเคราะห์องค์การทหารผ่านศึก.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). จำนวนประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ รายจังหวัด และภาค, [ระบบออนไลน], แหล่งที่มา http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx, เข้าดูเมื่อวันที่ 13/8/2561.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2560.กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์ดีการพิมพ์จำกัด.
หรรษา เศรษฐบุปผา, จารุณี รัศมีสุวิวัฒน์ และสกาวรัตน์ เทพประสงค์. (2557). ลักษณะนิสัยก่อนติดสุรา: การศึกษาในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย, พยาบาลสาร, 41, ตุลาคม – ธันวาคม 2557, หน้า 95 – 107.
อนันญา ดีปานา. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของพนักงานห้างสรรพสินค้าในจังหวัดน่าน, วิทยานิพนธ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อธิบ ตันอารีย์ และพลเทพ วิจิตรคุณากร. (2562). สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และดัชนีความเสี่ยงต่อปัญหาแอลกอฮอล์ของจังหวัดในประเทศไทย: ข้อมูลการสำรวจ พ.ศ.2560, วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 13, ตุลาคม – ธันวาคม 2562, หน้า 353 – 367.
อุเทน ลาพิงค์, ตระกูล ชำนาญ, พระครูสมุห์ธนโชติ จิรธมโม. (2562). การรักษาศึล 5 เพื่อการลด ละ เลิกดื่มสุราของชุมชนวัดเจดีย์แม่ครัว ตำบลแม่แฝกใหม่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6, พฤษภาคม 2562, หน้า 1603 – 1621.
Byrne, B.M. (1998). Structural equation modeling with LISREL, PRELIS, and SIMPLIS: Basic Concepts, Applications, and Programming, Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates, Inc.
Erevik, E.K., Pallesen, S., Vedaa, ., Andreassen, C.,S. and Torsheim. T. (2017). Alcohol use among Norwegian studens: Demograhpics, personality and psychological health correlates of drinking patterns, Norcid Studies on Alcohol and Drugs, 34, April 2017, pp. 415 – 429.
Nunnally, J.C. (1978). Psychometric Theory. 2nd ed. New York: McGraw-Hill.
Nunnally, J.C. and Bernstein, H. (1994). Psychometric Theory. 3rd ed New York: McGraw-Hill.
Schumacker, R.E., & Lomax, R.G. (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling. New York: Routledge.
Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. Third edition. New York: Harper and Row Publication.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง