คุรุ : คุณค่าและนัยยะ
คำสำคัญ:
คุรุ, คุณค่า, นัยยะบทคัดย่อ
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์สองประการ ประการที่หนึ่ง เพื่อสืบหาสาเหตุว่า เพราะเหตุใดมนุษย์จึงต้องมีคุรุ และประการที่สอง เพื่อศึกษาคุณลักษณะของผู้เป็นคุรุ ผู้วิจัยใช้ข้อมูลเอกสารและดำเนินการวิจัยตามสามขั้นตอน ประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำเสนอข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า มนุษย์ต้องมีคุรุเพื่อประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ และเพื่อเป็นแบบอย่างให้พวกเขาได้ประพฤติปฏิบัติตาม ขณะที่คุณลักษณะของคุรุประกอบด้วยสามประการ คือ คุรุต้องมอบความรักแก่ศิษย์โดยปราศจากเงื่อนไข คุรุต้องมองเห็นความถนัดของศิษย์แต่ละคนและกระตุ้นส่งเสริมให้มีความเจริญในด้านที่พวกเขาถนัด และคุรุต้องประกอบด้วยคุณธรรมที่เหนือกว่าบรรดาสานุศิษย์
References
ปรมหังสา โยคานันทะ. (2554). อัตชีวประวัติของโยคี. นนทบุรี: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
เพลโต. (2550). เพลโต วันสุดท้ายของโสคราตีส [The last days of Socrates]. (กิ่งแก้ว อัตถากร, ผู้แปล). นนทบุรี: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
_______. (2555). เพลโต ซิมโพเซียม [Symposium]. (กิ่งแก้ว อัตถากร, ผู้แปล). นนทบุรี: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ราจีฟ เมโรทรา. (2548). จิตแห่งคุรุ [The mind of the Guru]. (ทาคินี และ ลัดดา วิวัฒน์สุระเวช, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ศยาม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: นามมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
เสถียรโกเศศ-นาคะประทีป. (2551). หิโตปเทศ. (พิมพ์ครั้งที่ 4) กรุงเทพฯ : ศยาม.
_______. (2552). กามนิต-วาสิฏฐี. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ศยาม.
สวามี ประภาวนันทะ และ เฟรเดอริค แมนเชสเตอร์. (2553). อุปนิษัท คัมภีร์เพื่อความสงบศานติปัญญาญาณของพระมุนีฮินดู [Upanishads]. (กิ่งแก้ว อัตถากร, ผู้แปล). นนทบุรี: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง